Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8239
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญth_TH
dc.contributor.authorธนพร ผ่องสุวรรณ์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-26T07:03:25Z-
dc.date.available2023-07-26T07:03:25Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8239en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าน้ำมันรำข้าวของผู้บริโภคในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าน้ำมันรำข้าวของผู้บริโภคในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ผู้ที่เคยซื้อและบริโภคสินค้าน้ำมันรำข้าวในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวนทั้งสิ้น 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 26–30 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และรายได้เฉลี่ย 10,001–20,000 บาทต่อเดือน (1) พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าน้ำมันรำข้าวของผู้บริโภค พบว่า ส่วนใหญ่ซื้อน้ำมันรำข้าว 1 ครั้งต่อเดือน ซื้อจากซุปเปอร์มาร์เก็ต เพื่อนำไปประกอบอาหารประเภททอด เนื่องจากมีคุณค่าทางโภชนาการและดีต่อสุขภาพ บุคคลที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจคือ บุคคลในบ้าน ตราสินค้า ที่ซื้อคือ อัลฟ่าวัน หากตราสินค้าที่ชื่นชอบหมดจะซื้อตราสินค้าอื่นทดแทน และ (2) พบว่า สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ของผู้บริโภคมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าน้ำมันรำข้าวของผู้บริโภคในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectน้ำมันรำth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ข้าวth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--พระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อสินค้าน้ำมันรำข้าวของผู้บริโภคในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeConsumers buying behavior of rice bran oil in Pha Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study: (1) personal factors of consumers who buy rice bran oil in Pha Nakhon Si Ayutthaya Province; (2) relationship between personal factors as gender, age, status, highest level of education, occupation and average monthly income with rice bran oil buying behavior of consumers in Pha Nakhon Si Ayutthaya Province. The sample group consists of 400 consumers who reside in Pha Nakhon Si Ayutthaya Province and have bought rice bran oil. Questionnaire was used as the data collection instrument. Statistics was used for the analysis are percentage and analysis of variance by Chi-square test. The statistical package for social science (SPSS) was employed for statistical data analysis. The results were as follows: the majority of consumers were female, 26–30 years old and single. Most respondents graduated from bachelor degree and they are working as worker officers with the average monthly incomes ranged from 10,001–20,000 baht. Regarding to the buying behavior of rice bran oil; (1) the buying frequency of mostly consumer was less than one time per month and they buy rice bran oil from supermarket for frying using. The consumers decide to buy rice bran oil because rice bran oil has high nutritive value and good for health; which person who participate in buying decision is married couple. Mostly consumers buy “Alfa One” brand and in case of brand that consumers usually buy was out of stock the consumers shall be buy other brand instead; and (2) the results of relation research between personal factors with rice bran oil buying behavior as status, graduated, occupation and average monthly incomes has relative with rice bran oil buying behavior.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_132858.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons