Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8240
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิมลรัตน์ สังข์เลี่ยมทอง, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-26T07:15:59Z-
dc.date.available2023-07-26T07:15:59Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8240-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะส่วนบุคคลของผู้โดยสาร ชาวไทยที่มาใช้บริการสายการบินกาตาร์แอร์เวยส์(2) ศึกษาระดับความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพการให้บริการของสายการบินกาตาร์แอร์เวยส์ และ (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของความคาดหวัง และการรับรู้คุณภาพการให้บริการของสายการบินกาตาร์แอร์เวยส์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรคือ ผู้ที่เคยใช้บริการสายการบินกาตาร์เเอร์เวยส์ที่ไม่ทราบจำนวน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ความคลาดเคลื่อน 0.05 จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 26-35 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัท (2) ระดับความคาดหวังที่มีต่อคุณภาพการให้บริการ ทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากคือ ความมั่นใจ การตอบสนองที่รวดเร็ว ความเชื่อถือได้ การเข้าถึงจิตใจของ ลูกค้า ลักษณะทางกายภาพ และการรับรู้คุณภาพการให้บริการส่วนใหญ่อยู่ในระดับมากเช่นเดียวกันยกเว้นด้านการตอบสนองที่รวดเร็ว และการเข้าถึงจิตใจของลูกค้า อยู่ระดับปานกลาง และ (3) เมื่อ เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลกับการรับรู้ต่อคุณภาพการให้บริการสายการบินกาตาร์แอร์เวยส์พบว่า ระดับการศึกษาของผู้โดยสารไม่มีความสัมพันธ์ต่อความคาดหวังในคุณภาพ การให้บริการในทัศนะความเชื่อถือได้ความแตกต่างของลักษณะส่วนบุคคลกับคุณภาพการให้บริการพบว่า เพศ อายุ สถานภาพสมรส และรายได้ที่แตกต่างกันมีความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพการให้บริการแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ส่วนอาชีพที่แตกต่างกันมีความคาดหวังและการรับรู้ คุณภาพการให้บริการโดยส่วนใหญ่แตกต่างกัน แต่ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีความคาดหวังคุณภาพการให้บริการโดยส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน ขณะที่มีการรับรู้คุณภาพการให้บริการแตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสายการบินกาตาร์แอร์เวยส์th_TH
dc.subjectผู้โดยสารเครื่องบินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleความคาดหวังและการรับรู้ของผู้โดยสารชาวไทยต่อคุณภาพการให้บริการของสายการบินกาตาร์แอร์เวยส์th_TH
dc.title.alternativeExpectation and perception of Thai passenger's toward service quality of Qatar Airwaysen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this Independence study were: (1) to study the characteristic of Qatar Airways’s thai customer who use Airline’s service; (2) to study the Expectation and perception of consumer and quality service received; and (3) to compare the differential between the expectation and perception of the quality service level received. The population of this research is the customers who use the Airline Service of Qatar Airways. The Sampling size is Non-probability Sampling with the sampling error leave 0.05. The questionnaire has been used for collecting the data from 400 populations. Survey results will be analyze and process with statistic process for the descriptive data in view of consist of percentage; frequency; mean; and standard deviation. T-test and F-test to be used for inferential statistic data. The conclusion of this research are (1) Almost of the respondents are female, age between 26-35 yrs old, single and working with the company as an officer.; (2) Customer expected on the service quality at high level and their perception are mostly at high level except the dimension of responsiveness and empathy; and (3) Different characteristic, different in both expectation and perception at the level of Significance at 0.05. Different occupation, different expectation and perception in quality of service. Different education, pretty similar in expectation but different in perceptionen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_132859.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons