Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8250
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ไพรัตน์ จันที | th_TH |
dc.contributor.author | ศักดิ์ชาย รักการ | th_TH |
dc.contributor.author | จีรวัฒน์ ปล้องใหม่ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-26T08:31:18Z | en_US |
dc.date.available | 2023-07-26T08:31:18Z | en_US |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.issn | 2773-9600 | en_US |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8250 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในงานก่อสร้าง โดยมุ่งเน้นในด้านการลดระยะเวลาลงจาก เดิมที่มีการส่งมอบงานที่ล่าช้าในการทำการก่อสร้างที่ผ่านมาที่เกิดความล่าช้า 22 วัน จากกำหนดการ 75 วัน โดย ทำการค้นหาสาเหตุและเพื่อปรับปรุงคุณภาพในกระบวนการก่อสร้างบ้านพักอาศัยตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2564 การศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาในแต่ละขั้นตอนในกระบวนการก่อสร้างบ้านพักอาศัย โดยวิเคราะห์หาสาเหตุจากปัญหาการส่งมอบงานที่ล่าช้าจำนวน 24 หลังที่เกิดความล่าช้า ทำการตรวจสอบหาสาเหตุ ของความล่าช้าในแต่ละกระบวนการก่อสร้างและเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวนของระยะเวลาจากกระบวนการก่อสร้าง แสดงกระบวนการที่ก่อให้เกิดความล่าช้าของปัญหา ความล่าช้าจากกระบวนการก่ออิฐฉาบปูนที่เกิดขึ้น 63% ความล่าช้าจากการก่อสร้างหลังคาที่เกิดขึ้น 19% ความล่าช้าในการตัดเหล็ก-ดัดเหล็กสำหรับงานโครงสร้างที่ เกิดขึ้น 18% เพื่อวางมาตรการแก้ไขปัญหาในก่อสร้างบ้านพักอาศัย โดยการศึกษาข้อมูลคุณสมบัติทางวิศวกรรม ของวัสดุที่จะนำมาทดแทนการก่อสร้างในกระบวนการที่เกิดความล่าช้า และวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ทาง วิศวกรรม ผลการดำเนินการปรับปรุงสามารถลดระยะเวลาในการก่อสร้างลงไปได้การเกิดความล่าช้าในการก่อสร้าง เกิดจากการก่อสร้างผนังลดเวลาการก่อสร้างลงได้ 48% และการก่อสร้างหลังคาลดเวลาการก่อสร้างลงได้ 75% การตัดเหล็ก-ดัดเหล็กสำหรับงานโครงสร้างลดเวลาการก่อสร้างลงได้ 75% จากเดิมมีการส่งมอบงานล่าช้าเฉลี่ย 4.4% จากสัญญาว่าจ้างต่อการก่อสร้างบ้านหนึ่งหลัง หลังการปรับปรุงสามารถลดระยะเวลาในการก่อสร้างจาก สัญญาว่าจ้างลงไปได้ 1.7% ต่อการก่อสร้างบ้านหนึ่งหลัง และคิดเป็นมูลค่าในด้านแรงงานที่ลดเวลาการทำงานลง ไปเท่ากับ 14,220,000 บาทต่อปี | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.subject | การเพิ่มประสิทธิภาพในงานก่อสร้าง | th_TH |
dc.subject | การก่อสร้างบ้านพักอาศัยชั้นเดียว | th_TH |
dc.title | การเพิ่มประสิทธิภาพในงานก่อสร้าง บ้านพักอาศัยชั้นเดียว | th_TH |
dc.title.alternative | increased efficiency in construction single storey house | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14456/stouscitech.2022.2 | en_US |
Appears in Collections: | Journal of Social Sciences in Measurement Evaluation Statistics and Research |
This item is licensed under a Creative Commons License