กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8260
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณth_TH
dc.contributor.authorรณิดา สมิตานนท์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T02:07:33Z-
dc.date.available2023-07-27T02:07:33Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8260en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อประสิทธิภาพ (2) ปัญหาและแนวทางการพัฒนาตลอดจน (3) การเปรียบเทียบภาพรวมประสิทธิภาพในการบริหารการพัฒนาด้านการให้บริการแก่ประชาชนขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ทั้งนี้ ได้นำ สวอท ซึ่งประกอบด้วย 4 เรื่อง ได้แก่ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจำกัดหรืออุปสรรค รวมทั้งนำ 3M ได้แก่ การบริหารบุคลากร การบริหารงบประมาณ และการบริหารงานทั่วไป มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในการวิจัยสนาม คือประชาชนทั้งหมดซึ่งมีจำนวน 1,088 คน เก็บรวบรวมโดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ที่ระดับ 0.96 การเก็บรวบรวมข้อมูลสนามดำเนินการระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม-15 กันยายน 2549 เก็บรวบรวมข้อมูลได้ 940 คน คิดเป็นร้อยละ 86.40 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดสำหรับสถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฎว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยว่า องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีประสิทธิภาพในการบริหารการพัฒนาด้านการให้บริการแก่ประชาชนในระดับปานกลาง สำหรับข้อเสนอแนะ เช่น (1) ด้านการบริหารบุคลากร ควรคัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ รวมทั้งมีจิตสำนึกในการให้บริการ (2) ด้านการบริหารงบประมาณ ควรวางแผนด้านงบประมาณเกี่ยวกับการให้บริการแก่ประชาชนโดยจัดทำเป็นแผนระยะยาว และ (3) ด้านการบริหารงานทั่วไป ควรกำหนดนโยบายด้านการบริหารงานภายในที่ครอบคลุมทุกหน่วยงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--ปากเกร็ดth_TH
dc.subjectการบริหารการพัฒนาth_TH
dc.titleความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารการพัฒนาด้านการให้บริการแก่ประชาชนขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativePeople opinions on the development administration with the emphasis on people service of the Subdistrict Administration Organization Pakkred District, Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were (1) to study the opinion of the sampling about efficiencies, (2) problems and development guidelines, and (3) to compare the overall development management efficiencies with the emphasis on people services of the Subdistrict Administration Organization, Pakkred District, Nonthaburi Province. The conceptual framework of SWOT, consisted of 4 factors: Strength, Weakness, Opportunities, and Threats; including 3M, consisted of 3 factors: Man, Money, Management were applied to this research. The field research samples were all 1,055 people. They were collected by using questionnaires which were pretested and had been checked out for validity and reliability of 0.96. Thc field data was collected between Augustl to Scptcmbcrl5, 2006. The sample was 940 people, which making 86.40% of total samples. Statistics applied were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The results of the research revealed that the samples agreed that the development administration with the emphasis on people services of the Subdistrict Administration Organization, Pakkred District, Nonthaburi Province was at the medium level. For suggestions, such as, (1) Man: the recruitment should depend on knowledges, capabilities, and service mind; (2) Money: the budget planning with the emphasis on people services should be established as the long term plan; and (3) Management: the interior administration policies covering all organizations should be established.en_US
dc.contributor.coadvisorศิรินทร์ ธูปกล่ำth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
98045.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.64 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons