Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8267
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทวีบุญ เชาวะเจริญ, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T02:54:27Z-
dc.date.available2023-07-27T02:54:27Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8267-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาขีดความสามารถ ปัญหา แนวทางการ พัฒนา เปรียบเทียบภาพรวม และ (2) ศึกษาภาพรวมแนวโน้มของขีดความสามารถในการบริหาร จัดการตามแนวทางการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการของจังหวัดนราธิวาส ทั้งนี้ได้นำ แพ็มส์-โพสคอร์บ ซึ่งประกอบด้วย 11 ด้าน ได้แก่การบริหารนโยบายการบริหารอำนาจหน้าที่ การบริหารคุณธรรม การบริหารที่เกี่ยวข้องกับสังคม การวางแผน การจัดองค์การ การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ การอำนวยการ การประสานงาน การรายงาน และการงบประมาณ มาเป็น กรอบแนวคิดในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลสนาม แบบสอบถามสอบถามได้ผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อถือ ได้ที่ระดับ 0.93 การเก็บรวบรวมข้อมูลสนามจากประชาชนได้ดำเนินการระหว่างวันที่ 1-30 กันยายน 2549 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,287 คิดเป็นร้อยละ 81.19 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด (1,585 คน) ข้อมูลได้ถูกนำมาวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์ สำหรับสถิติที่นำมาใช้ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับปานกลางในเรื่อง ขีดความสามารถ ในการบริหารจัดการ ปัญหา แนวทางการพัฒนา และขีดความสามารถในการบริหารจัดการของ จังหวัดซีอีโอในอนาคตมีแนวโน้มที่จะสูงกว่าในปัจจุบัน ในส่วนของข้อเสนอแนะที่สำคัญ คือ รัฐบาลควรแก้ไขกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อลดอำนาจในการกำหนดนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัด ซีอีโอ รัฐบาลควรเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการปฏิบัติงานของ ผู้ว่าราชการจังหวัดชีอีโอ และในอนาคตรัฐบาลควรยกเลิกหรือปรับปรุงการบริหารราชการจังหวัด แบบบูรณาการโดยนำการปกครองท้องถิ่นรูปแบบกรุงเทพมหานครมาประยุกต์ใช้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจ -- ไทย -- นราธิวาสth_TH
dc.titleการพัฒนาการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการของจังหวัดนราธิวาสth_TH
dc.title.alternativeManagement administration development following the provincial integrated administration of Narathiwat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study capabilities, problems, development guidelines, overall comparison , and (2) to study the overall trend of the capabilities of the management administration development following the Provincial Integrated Administration of Narathiwat Province. The conceptual framework of PAMS-POSDCoRB, consisted of 11 factors: Policy, Authority, Morality, Society, Planning, Organizing, Staffing, Directing, Coordinating, Reporting, and Budgeting was applied to this study. This study was a survey research using questionnaires for field data collection. The questionnaires were pretested and had been checked out for validity and reliability of 0.93. The field data collection was collected from people between September1-30, 2006. The samples was in the amount of 1,287 people making 81.19% of total samples (1,585 people). The data was canalized by computer Statistics used were percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The study results revealed that the samples agreed at the medium level in terms of the management administration capabilities, the problems, the procedures of development, and the management administration capabilities of the CEO province in the future tend to higher than the present. For important suggestions: Government should amend the related rules and regulations in order to reduce the power entrusted to the CEO governor. Also, the government should open more opportunities for people to participate in the investigation and assessment of the CEO governor’s performances. Going forward, the government should revoke or improve to the current provincial integrated administration by, for example, adopting and applying the local government of the Bangkok Metropolitan Authorityen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98047.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons