Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8272
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกนกพร สีดอกไม้, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T03:36:13Z-
dc.date.available2023-07-27T03:36:13Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8272-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของ บุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับ สมรรถนะของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี (3) เพื่อศึกษาแนวทางการ พัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ ข้าราชการ 97 คน ลูกจ้างประจำ 40 คน และพนักงานจ้าง 59 คน รวมทั้งสิ้น 196 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน เพื่อการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์และความแตกต่าง ของข้อมูล โดยใช้สถิติ F-test และ Chi-Square ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ ด้านการ บริการที่ดี ด้านความร่วมแรงร่วมใจ และด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ อยู่ในระดับ ปานกลาง ระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานด้านจริยธรรม อยู่ในระดับมาก (2) ปัญหาอุปสรรค เกี่ยวกับสมรรถนะ ที่สำคัญ คือ บุคลากรยังขาดความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความ เชี่ยวชาญในงานอาชีพ บุคลากรยังขาดความรู้ความชำนาญ เกี่ยวกับการให้บริการและยังขาด ขวัญกำลังใจในการทำงานและขาดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน (3) แนวทาง ในการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่สำคัญ คือ ควรเพิ่มการจัดฝึกอบรม เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงานในตำแหน่งต่าง ๆ ให้มีความเชี่ยวชาญในงานอาชีพอย่างสมํ่าเสมอ ควรมีการศึกษาดูงานในองค์กรที่ประสบ ความสำเร็จในด้านการบริการ ควรเพิ่มการสร้างขวัญและกำลังใจและสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่าง ผู้บริหารกับบุคลากรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.91en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี -- พนักงาน -- การประเมิน | การทำงาน -- การประเมินth_TH
dc.subjectการทำงาน -- การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeCompetency evaluation of personnel in Surat Thani Provincial Administration Organizationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to evaluate operation competency of the personnel in Suratthani Provincial Administration Organization, (2) to study problems of operation competency of the personnel in Suratthani Provincial Administration Organization, (3) to study the way to develop operation competency of the personnel in Suratthani Provincial Administration Organization. The population included in the study was of 196 people. All were the personnel in Suratthani Provincial Administration Organization, 97 were government officials, 40 were permanent employees, and 59 were temporary employees. The tools applied were questionnaires and interviews. The statistics used in the study were mean, standard deviation, and inferential statistics which were applied to find out the relationships and the differences of the data. The statistics brought into use for the purpose were F-test and Chi-Square. The research indicated that (1) levels of operation competency of the personnel in areas of aiming for result achievement, good services, team spirit and pool efforts as well as accumulation of professional experiences were found average while their operation competency for integrity was shown to be high; (2) problems concerning competency of the personnel were some shortage of knowledge and skill to be expertises in their professionals, shortage of knowledge and skill in service, and shortage of morale and closed relationship between executives and staff. (3) the way to develop operation competency of the personnel in Suratthani Provincial Administration Organization were that the authorities should increase more training to develop knowledge and skill for personnel and should promote study tour in best practice organization for services, as well as to promote morale and to establish closer relationship between executives and staffen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98081.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons