Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8278
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | กฤษณะ นามงาม, 2512- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-27T04:25:27Z | - |
dc.date.available | 2023-07-27T04:25:27Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8278 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อศักยภาพใน การบริหารจัดการ ปัญหา แนวทางการพัฒนา การเปรียบเทียบภาพรวม และภาพรวมแนวโน้ม ศักยภาพในการบริหารจัดการในการบริหารจัดการของฝ่ายซ่อมใหญ่อากาสยาน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ทั้งนี้ ได้นำกรอบแนวคิด สวอท ซึ่งประกอบด้วย 4 เรื่อง ได้แก่ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจำกัดหรืออุปสรรค รวมทั้งนำแนวคิด 3M มาปรับใช้ในการศึกษาครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามีจำนวน 1,015 คน เก็บรวบรวมโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการ ทดสอบ รวมทั้งผ่านการหาความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม การเก็บรวบรวม ข้อมูลสนามดำเนินการระหว่างวันที่ 31 กรกฎาคม ถึง 15 กันยายน เก็บรวบรวมได้ 842 คน คิดเป็น จำนวนร้อยละ 82.96 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สำหรับสถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า (1) ศักยภาพในการ บริหารจัดการและปัญหาของศักยภาพในการบริหารจัดการของฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยาน และ (2) ภาพรวมศักยภาพในการบริหารจัดการของฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยานในปัจจุบันสูงกว่าในอดีต และสูงกว่าหน่วยงานข้างเคียง และเห็นด้วยในระดับมากต่อแนวทางการพัฒนาศักยภาพในการ บริหารจัดการของฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยาน สำหรับข้อเสนอแนะที่สำคัญ คือ (1) ด้านการบริหาร บุคลากร ฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยานควรจัดให้มีแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างเป็นระบบและ ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง (2) ด้านการบริหารงบประมาณ ฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยานควรจัดสรร งบประมาณให้หน่วยงานภายในต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและเพียงพอ โดยครอบคลุมงบประมาณ สำหรับการแข่งขันทางธุรด้วย และ (3) ด้านการบริหารงานทั่วไป ฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยานควร คำนึงถึง กฎข้อบังคับขององค์กรการบินทั้งในและต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น และควรนำการบริหาร จัดการที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพมาปรับใช้ในหน่วยงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บริษัทการบินไทย. ฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยาน -- การบริหาร | th_TH |
dc.title | แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการของฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) | th_TH |
dc.title.alternative | Development guidelines of management administration potentials of the Aircraft Overhaul Department, Thai Airways International Public Company Limited | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The research purposes were to study the opinions of samples on potentials, problems, procedures to development, overview comparison overview trends of management administration potentials of the Aircraft Overhaul Department (AOD), Thai Airways International Public Company Limited. The conceptual framework of SWOT that consisted of Strength, Weakness, Opportunity, and Threat; including concept of 3M, consisted of 3 factors; Man, Money, Management were applied to this research. The total of samples were 1,015, and were collected by using questionnaires which passed pretest, checked for validity and reliability. The field data was collected between July31 to September 15, 2006 with the completed sampling amount of 842, making 82.96% of the total samples. Statistics employed for data analysis were percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The research results found that: the samples agreed at the medium level that (1) the management administration potentials and problems of management administration potentials of AOD; and (2) the overview management administration potentials of AOD at the present were higher than the past, and also higher than other nearby departments, and at the high level to procedures to development of AOD. For significant suggestions: (1) Man: AOD should establish the systematic human resource development plan and operate continuously; (2) Money: AOD should allot appropriate and sufficient budgets to all interior organizations, the budgets should also cover the business competition; and (3) Management: AOD should pay more concentration on the regulations of both domestic and foreign flying organizations; and should accept and apply new efficiency management administration to the organization | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License