Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/827
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรเดช ประดิษฐบาทุกา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนวกมล สุริยันต์, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T06:34:21Z-
dc.date.available2022-08-20T06:34:21Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/827-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ต้นทุนในการให้บริการทันตกรรมรากเทียมต่อซี่ 2) ต้นทุนรวมในการให้บริการทันตกรรมรากเทียมของผู้มารับบริการ โรงพยาบาทประชาธินิตย์ จังหวัดปทุมธานี การวิเคราะห์ต้นทุนดำเนินการในประชากรซึ่งเป็นจำนวนทันตกรรมรากฟันเทียมที่ผู้ป่วยมารับบริการทันตกรรมรากฟันเทียมระหว่างเดือนตุลาคม 2549 ถึง เดือนกันยายน 2550 โดยการวิจัยใช้จำนวนทันตกรรมรากฟันเทียมทั้งหมด เก็บข้อมูลต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุ และค่าลงทุนโดยไม่รวมขั้นตอน การถ่ายเอกซเรย์ด้วยคอมพิวเตอร์และแพนนอรามิก และในผู้ป่วยบางรายที่มีรากฟันเทียมมากกว่า 1 ตำแหน่ง วิธีวิเคราะห์ต้นทุนโดยแบ่งหน่วยต้นทุนเป็น 2 หน่วย คือหน่วยที่ก่อให้เกิดรายได้ (หรือหน่วยบริการผู้ป่วย) และหน่วยที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 5 แบบ คือ พจนานุกรมทันตกรรมรากฟันเทียม แบบบันทึกเวลาในการปฏิบัติงานทันตกรรมรากฟันเทียม แบบบันทึกค่าแรงในการปฏิบัติงานทันตกรรมรากฟันเทียม แบบบันทึกค่าวัสดุการให้บริการทันตกรรมรากฟันเทียม แบบบันทึกค่าเสื่อมราคาการให้บริการทันตกรรมรากฟันเทียม วิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองของผู้ให้บริการและโดยต้นทุนทางบัญชี การกระจายต้นทุนด้วยวิธีการกระจายต้นทุนโดยตรง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ร้อยละ การศึกษา พบว่า 1) ต้นทุนการให้บริการทันตกรรมรากฟันเทียมต่อซี่ เท่ากับ 15,997.38 บาท 2) ต้นทุนรวมของหน่วยบริการทันตกรรมรากฟันเทียมเท่ากับ 799,869.01 บาท โดยเป็นต้นทุนทางตรง 799,857.32 บาท และต้นทุนทางอ้อม 11.69 บาท อัตราส่วนต้นทุนค่าแรงต่อต้นทุนค่าวัสดุต่อต้นทุนค่าลงทุน เท่ากับ 2.54 :75.44 : 22.02 โดยต้นทุนในการให้บริการรากฟันเทียมขึ้นกับวัสดุที่ใช้ทางทันตกรรม ข้อเสนอแนะของผลการวิจัย ควรนำผลมาเปรียบเทียบกับโปรแกรมการบริการพื้นฐานที่ให้บริการประชาชนทั่วไป และควรศึกษาต้นทุนต่อกิจกรรมผู้ป่วยเพื่อประสิทธิภาพการบริหารต้นทุนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทันตกรรม--ค่าใช้จ่ายth_TH
dc.subjectทันตกรรม--ต้นทุนการผลิตth_TH
dc.subjectทันตกรรม--ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานth_TH
dc.subjectค่ารักษาพยาบาลth_TH
dc.titleต้นทุนต่อหน่วยบริการทันตกรรมรากฟันเทียมโรงพยาบาลประชาธิปัตย์ จังหวัดปทุมธานี ปีงบประมาณ 2550th_TH
dc.title.alternativeUnit cost of dental implant services in Prachatipat Hospital, Pathum Thani Province of the fiscal year 2007th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive reseach were to study, 1) unit cost of one dental implant service 2) full cost of dental implant of patients in Prachatipat hospital, Prathumtani province In this cost study the population was all the dental implants of patients in the hospital from October 2006 to September 2007, which the research used all of them. Data of costs of dental implant patients were collected from labour cost, material cost and capital cost, which excluded computer tomograme and panoramic X-ray ,and some patient case with more than one dental implant. In cost analysis method the unit costs were classified into 2 types, revenue producing cost center (or patient service area) and non-revenue producing cost center. The research instruments were 5 sets consisted of dental implant dictionary, time record form, labour cost form, material cost form, and capital cost form which were developed according to the components of total direct cost of the dental implant. The costs were allocated by direct distribution method. Unit cost analysis in viewpoint of provider and by accountings cost. Statistical analysis used percentage. This study found that: 1) cost per 1 case service of dental implant was 15,997.38 baht.2) full cost of dental implant units was 799,869.01 baht, which direct cost was 799,857.32 baht and indirect cost was 11.69 baht. The ratio of labour costs: material costs: capital costs was 2.54: 75.44: 22.02 There costs depended on materiel which used in dental implant. The research recommends that unit costs should be compare with basic service package program for people, and should study cost per activity of patients for effective cost administrationen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108823.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons