Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8281
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชลวิทย์ อวนศรี, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T04:48:39Z-
dc.date.available2023-07-27T04:48:39Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8281-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อประสิทธิภาพใน การบริหารการพัฒนา ปัญหา แนวทางการพัฒนา เปรียบเทียบภาพรวม และแนวโน้มของประสิทธิภาพ ในการบริหารการพัฒนาของสำนักงานเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้โดยใช้ 6M อัน ได้แก่ การ บริหารบุคลากร (Man) การบริหารงบประมาณ (Money) การบริหารงานทั่วไป (Management) การ บริหารวัสดุอุปกรณ์ (Material) การให้บริการประชาชน (Market) และการบริหารคุณธรรม (Morality) เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถาม ซึ่งผ่านการทดสอบ (pretest) รวมทั้งผ่านการหาความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามเริ่มทั้งแต่วันที่ 13 ตุลาคม 2549 ถึง วันที่ 5 ธันวาคม 2549 ได้ จำนวน 862 คน คิดเป็นร้อยละ 85.0 ของกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด (1,014 คน) สถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (one way ANOVA) และการเปรียบเทียบ เป็นรายคู่ (scheffe) ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า การบริหารการ พัฒนาของสำนักงานเขตบึงกุ่ม มีประสิทธิภาพสูง เห็นด้วยในระดับมาก ว่า การบริหารการพัฒนาใน ปัจจุบันมีประสิทธิภาพสูงกว่าในอดีตและในอนาคตมีแนวโน้มที่จะมีประสิทธิภาพสูงกว่าในปัจจุบัน นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยระดับปานกลาง ว่า การบริหารการพัฒนามีประสิทธิภาพสูงกว่า สำนักงานเขตอื่นในพื้นที่ใกล้เคียง สำหรับข้อเสนอแนะที่สำคัญ เช่น เพิ่มการพัฒนาบุคลากรในทุก ระดับ ปลูกฝังจิตสำนึกของการให้บริการ เพิ่มการมีส่วนร่วม และการควบคุมการปฏิบัติงาน ล้วนเป็น สิ่งจำเป็นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.232en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรุงเทพมหานคร. สำนักงานเขตบึงกุ่ม -- การบริหารth_TH
dc.subjectการบริหารการพัฒนา -- ไทยth_TH
dc.titleประสิทธิภาพในการบริหารการพัฒนาของสำนักงานเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeDevelopment administration efficiencies of the Office of Bueng Kum District, Bangkok Metropolitan Administrationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to examine the opinions of samples on the development administration efficiencies, problems, procedures to development, compare overviews and trends of the development administration efficiencies of the Office of Bueng Kum District, Bangkok Metropolitan Administration. The conceptual framework of 6M: Man, Money, Management, Material, Market, and Morality was applied to this study. This study was survey research with questionnaires. The questionnaires passed pretest and the checking of validity and reliability. The field data was collected during Octoberl3 - Decembers, 2006, with the amount of 862, making 85.0 % of total samples (1,014). Statistics applied to analyze data were percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-test, one way ANOVA, and scheffe. The research results: the majority of the samples agreed at the medium level that the development administration efficiencies of the Office of Bueng Kum District were high. They agreed at the high level that the development administration efficiencies at present time was higher than the past; and in the future, the efficiencies tend to higher than the present. They agreed, morever, at the medium level that the development administration efficiencies was higher than other nearby districts. For significant suggestions, such as, the increse of the human resource development at all levels, the establishment of service mind, the increase of participation and the control of performance should be neededen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98088.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons