Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8282
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจำนงค์ เมตตาจิตร, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T06:06:46Z-
dc.date.available2023-07-27T06:06:46Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8282-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อขีด ความสามารถในการบริหารจัดการ ปัญหา แนวทางการพัฒนา ตลอดจน (2) เปรียบเทียบภาพรวม และแนวโน้มขีดความสามารถในการบริหารจัดการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกรม ชลประทาน ทั้งนี้ ได้นำ สวอท ซึ่งประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจำกัด หรืออุปสรรค รวมทั้งนำแนวคิด 3M ได้แก่ การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ และการ บริหารงานทั่วไป มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ด้วย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามีจำนวน 1,233 คน เก็บรวบรวมโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการ ทดสอบ รวมทั้งผ่านการหาความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.90 การ เก็บรวบรวมข้อมูลสนามจากข้าราชการ ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 กันยายน ถึง 30 ตุลาคม 2549 สามารถเก็บรวบรวมได้ 1,132 คน คิดเป็นจำนวนร้อยละ 91.88 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สำหรับ สถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ ค่าที ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า (1) ขีดความสามารถใน การบริหารจัดการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกรมชลประทานสูง และ (2) ขีดความสามารถ ในการบริหารจัดการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบันสูงกว่าในอดีต พร้อมกันนั้น กลุ่ม ตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก ว่า ในอนาคตมีแนวโน้มสูงกว่าในปัจจุบัน สำหรับข้อเสนอแนะ เช่น (1) ด้านการบริหารงานบุคคลควรมีการวางแผนรูปแบบในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างเป็น ระบบ และ ผู้บริหารควรเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพิ่มมากขึ้น (2) ด้าน การบริหารงบประมาณ ควรจัดสรรงบประมาณด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เพียงพอและ สอดคล้องกับแผน และ (3) ด้านการบริหารงานทั่วไปควรแบ่งอำนาจไปสู่ส่วนภูมิภาคและ ควรสนับสนุนให้มีการประเมินผลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยหน่วยงานภายนอกเพิ่มมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.170en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมชลประทาน -- การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th_TH
dc.subjectทรัพยากรมนุษย์ -- การจัดการth_TH
dc.subjectทรัพยากรมนุษย์ -- การบริหารth_TH
dc.titleขีดความสามารถในการบริหารจัดการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกรมชลประทานth_TH
dc.title.alternativeManagement administration capabilities in terms of human resource development of the Royal Irrigation Departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (l)to study the samples’ opinions on the management administration capabilities, problems, development guidelines, and (2) to compare overviews and trends of the management administration capabilities in terms of human resource development of the Royal Irrigation Department. The conceptual framework of SWOT, consisted of 4 factors: Strength, Weakness, Opportunity and Threat; as well the concept of 3M: Man, Money, and Management were employed to this research. The samples of this research were 1,233 people. The sample opinions were collected by using questionnaires which were pretested and had been checked out for validity and reliabilityof 0.90. The field data was collected from civil service, from September 1 to October30, 2006 with the amount of 1,132 people, which making 91.88% of total samples. Statistics applied to analyze data were percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The research results agreed at the medium level that (1) the management administration capabilities in terms of human resource development of the Royal Irrigation Department were high and (2) the management administration capabilities at present were higher than in the past. By the same time, the samples agreed at the high level that the management administration capabilities in the future tend to higher than in the present. For suggestions, such as, (1) Man: the systematic plan of human resource development should be established. In addition, the executives should increasingly realize the significances of human resource development; (2) Money; the human resource development budget should be sufficient and coincide with the plan; and (3) Management: The delegation of power to the local administration should be operated and the evaluation of human resource development by the outside organizations should be increaseden_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98089.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons