กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8286
ชื่อเรื่อง: การวิเคราะห์การเข้าสู่ธุรกิจอุตสาหกรรมผลิตเม็ดไบโอพลาสติก
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Analysis of entry to Bio Plastic Granule manufacturing industry
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษา
พิมล แก้วมณี, 2519-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
เม็ดไบโอพลาสติก
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
วันที่เผยแพร่: 2550
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการผลิต แหล่งวัตถุดิบที่จะใช้ไนการผลิตเม็ดไบ โอพลาสติก เทคโนโลยีการผลิตเม็ดไบ โอพลาสติกทั้งในประเทศและต่างประเทศ ลักษณะโครงสร้างต้นทุนของเทคโนโลยีการผลิตเม็ดไบไอพลาสติก สภาพตลาดไบไอพลาสติกทั้งในประเทศและต่งประเทศ และผลกระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสิ่งแวดล้อม การศึกษากันคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาศับคว้าอิสระเชิงวิชาการแบบประยุกต์ โดยรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสาร งานเขียน รายงานการศึกษาคั้นคว้าวิชาการ หนังสือคู่มือทางวิชาการ สารสนเทศ และบทความจากแหล่งต่างๆ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร อินเตอร์เน็แล้วนำมาวิเคราะห์เชิงพรรณนา โดยใช้การศึกษาในต้นการผลิต การหาแหล่งวัตถุดิบ เทค โน โลยีการผลิต ต้นทุนในการผลิต สภาพตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบต่อสิ่งแวดล้อมผลการศึกษาพบว่า1) ด้านเทคโนโลยี มีเทคโนโลยีอยู่ 3 แบบที่เหมาะสมกับประเทศไทยใบขณะนี้และต้องใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศพื่อช่วยในกระบวนการผลิต โดยประยุกต์กับความรู้และงานวิจัยในประเทศไทยเพื่อสร้างรูปแบบที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน2) ด้านการตลาด ตลาดต่างประเทศ ทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น ทั่วโลกมีมากกว่า500,000 ตันต่อปี แต่กำลังการผลิตทั่วโลกมีเพียง 80,000-1 50,000 ตันต่อปี ในประเทศไทยความต้องการมีมากกว่า 20,000 ตันต่อปี ทั้งเพื่อการส่งออกและใช้ภายในประเทพและตลาดไบโอพลาสติกขยายต่อปีละกว่า 20% คาดการณ์ว่าภายใน 5-10 ปีความต้องการจะมีมากกว่า 5 ล้านตับต่อปี 3) ด้านต้นทุนเม็ดไบโอพลาสติก เมื่อเปรียบเทียบทุกเทคโนโสยีแล้วต้นทุนของ TPS ต่ำกว่า PLA และ PHA เมื่อเปรียบเทียบจากเทคโนโลยีและการประยุกต์ใช้งานที่ใกล้เคียงกัน ตันทุนของไบไอพลาสติกชนิดPLA ต่ำกว่า PHA 4) ด้านการลงทุน สามารถใช้วิธีการลงทุนโดยการร่วมทุนกับต่างประเทศโดยนักลงทุนไทยและนักลงทุนต่างประเทศ และบริษัทที่มีเทคโน โลยีไบไอพลาสติก ซึ่งอาจเป็นนักลงทุนจากสหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น อาเซียนก็สามารถมาทำได้ การลงทุนในไทย จากการศึกษาควรใช้เทคโนโลยี PLA โดยการซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8286
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext_100858.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.79 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons