Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8296
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสาวภา มีถาวรกลุ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีรชาติ สว่างนพ, 2498--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T07:56:34Z-
dc.date.available2023-07-27T07:56:34Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8296-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพและลักษณะการบริหารสุขภาพ บุคลากรการท่าเรือแห่งประเทศไทย (2) ศึกษาทัศนคติของบุคลากรการท่าเรือแห่งประเทศไทยที่มี ต่อโครงการบริหารสุขภาพที่สำนักแพทย์และอนามัยกำหนดขึ้น (3) เสนอแนะแนวทางในการ บริหารสุขภาพให้สอดคล้องกับความต้องการของบุคลากรการท่าเรือแห่งประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วยบุคลากรการท่าเรือแห่งประเทศไทย จำนวน 346 คน จากจำนวนประชากรทั้งหมด 3440 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและรวบรวมนำมา วิเคราะห์ประมวลผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป โดยใช้สถิติในการวิจัยเชิงพรรณนา คือ ค่าเฉลี่ย ค่า ร้อยละ และสถิติอนุมาน คือการทดสอบแบบที แบบเอฟ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบรายคู่แบบ LSD ทดสอบกรณีที่มีความแปรปรวนแตกต่างกัน ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายสุขภาพ ในระดับปานกลาง (2) ทัศนคติต่อโครงการบริหารสุขภาพที่สำนักแพทย์และอนามัยจัดทุกโครงการ อยู่ในระดับสูงมาก (3) ภูมิหลังของบุคลากรในเรื่องระดับการศึกษา และอัตราเงินเดือน ที่แตกต่าง กันมีผลต่อทัศนคติต่อโครงการบริหารสุขภาพที่แตกต่างกันบางโครงการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ส่วนภูมิหลังด้านอื่นๆ ไม่มีผลกับทัศนคติ (4) บุคลากรที่มีระดับความรู้เกี่ยวกับ นโยบายบริหารสุขภาพที่แตกต่างกันจะมีความสัมพันธ์กับทัศนคติของบุคลากรต่อโครงการบริหาร สุขภาพที่ แตกต่างกันทุกโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้นโครงการสุขภาพ ตามสายกับโครงการลดไขมันในเลือด ข้อเสนอแนะ (1) จัดให้มีชั่วโมงที่จะพัฒนาด้านสุขศึกษา และพลศึกษา เพื่อดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวควบคู่กับความรู้ในด้านการปฏิบัติงาน (2) บุคลากรมีความสนใจในสุขภาพตนเองเป็นจำนวนมากควรที่จะนำโครงการเกี่ยวกับสุขภาพมา เสนอบุคลากรมากขึ้น ทำให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพมากขึ้น (3) จัดให้มีสถานีออก กำลังกายเพื่อแนะนำการออกกำลังกายที่ถูกต้อง และแนะนำทักษะในการเล่นกีฬา สร้างสุขภาพให้ แข็งแรง (4) เสนอให้ความรู้ด้านสุขภาพในสารสัมพันธ์ (5) การมีสถานีออกกำลังกาย จัดให้เป็น สวัสดิการ หรือให้เสียค่าใช้จ่ายน้อยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.56en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการท่าเรือแห่งประเทศไทย -- พนักงาน -- สุขภาพและอนามัยth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleการบริหารสุขภาพบุคลากรการท่าเรือแห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeIntegrated health programmes for staffs and employess of the Port Authority of Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research is (1) to study the characteristic of Integrated Health Programmes at The Port Authority of Thailand (2) to study the attitude of staffs and employees to manage Health Programmes of Medical and Hygiene Department (3) to suggest the guideline to integrate Health Programmes to manage the demand of Staffs and Employees. The Population of this study is 3,440 staffs and employees of the Port Authority of Thailand.The sampling size consisted of 346 staffs and employees using stratified random sampling. Data were collected by using questionnaires and analyzed by using computer program. Statistical tools employed for data analysis were percentage, means, standard deviation, t-test, F- test, One-way ANOVA and LSD. The result of this research indicated that (1) staffs and employees had the knowledge and understanding towards health policy at moderate level (2) the attitude towards management of the programmes average at high level (3) the difference of personal factors did not influence the attitude of staffs and employees but some educational level and salary were found to be significantly different in some health programmes at the 0.05 level (4) the difference level of knowledge and attitude were found to be significantly different at the 0.05 level except on-line health program and controlling cholesterol levels. The recommendation of this research indicated that (1) provide the time for preventive maintainance activity and programmes to staffs and employees (2) provide new health programmes for staffs and employees (3) provide fascilities with experts in sports science to give appropriate in dividual exercise program for staffs and employees (4) include interesting articles in montly paper covering correct working posture health tips and preventive health maintainnance programmes (5) provide low cost gym yoga and other exercise facilities for staffs and employeesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
99002.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons