Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8303
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสวลี รักษาวงศ์, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T08:31:31Z-
dc.date.available2023-07-27T08:31:31Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8303-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการรับรู้และระดับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ของพนักงานภายใต้วัฒนธรรมใหม่ในการทำงาน (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ปรับตัวให้เข้ากับการปฏิบัติงานตามวัฒนธรรมใหม่ เพื่อเสนอแนะแนวทางและวิธีการที่เหมาะสม กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 ภาคใต้ จำนวน 290 คน จาก ประชากรจำนวน 1,060 คน มีเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบนสอบถาม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน และ ใช้การวิเคราะห์ถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับการรับรู้และระดับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของพนักงาน ในการปฏิบัติงานภายใต้วัฒนธรรมใหม่โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้ ระดับการรับรู้ของ พนักงานในแต่ละระดับ พบว่ามีความแตกต่างกัน ในด้านพฤติกรรมของพนักงานในแต่ละระดับ พบว่า มีระดับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่แตกต่างกัน (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวของ พนักงาน คือ ปัจจัยด้านทัศนคติและความพึงพอใจของพนักงาน รวมทั้งปัจจัยด้านแรงจูงใจ ข้อเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของพนักงานให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม ใหม่ในการทำงาน คือ ควรจัดให้มีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ทันสมัยเพียงพอแก่การใช้งาน สร้างบรรยากาศที่ก่อให้เกิดการรับรู้ จัดระบบการสื่อสารที่ดีภายในองค์การ ผู้บริหารควรเป็น แบบอย่าง ควรมีการติดตามและประเมินผล และควรให้ความรู้แก่พนักงาน รวมถึงการส่งเสริมการ ทำงานเป็นทีมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค -- ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.subjectการปรับพฤติกรรมth_TH
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การ -- ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.titleการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรให้สอดคล้องกับนวัตกรรมใหม่ในการทำงานขององค์การ : ศึกษากรณีเฉพาะการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 ภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeBehavior modification according to new organization culture : a case study of Provincial electricity Authority Area 3 (South)th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study the levels of perception and behavior modification of personnel under the new organizational culture (2) study factors that influenced the adjustment of personnel to new organization culture, and recommend suitable modification approach that should be employed. The samples were 290 personnel extracted from 1,060 Provincial Electricity Authority Area 3 (South) personnel. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation , and step wise regression. The result of the research revealed that (1) perception and behavior modification of personnel under new organization culture were เท moderate level, levels of perception of personnel in each level were different at .05 level of significance. However, there were no differences in level of adjustment to the new culture (2) factors that influenced personnel adjustment were their attitude and job satisfaction, including motivation. Suggestions for appropriate approach to modify personnel behavior to become align with new organizational culture were: the provision of sufficient modem office equipment, the creation of suitable organizational climate to foster positive perception, the development of effective communication system, good model exercised by management team, appropriate follow up and evaluation scheme, the dissemination of needed knowledge within the organization, and the management promotion of teamworken_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
99019.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons