Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8335
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปัทมาพร เย็นบํารุงth_TH
dc.contributor.authorดาราพร มาตขาว, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-31T07:43:41Z-
dc.date.available2023-07-31T07:43:41Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8335en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระของมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นครอบคลุมข้อมูลต่าง ๆ อาทิ ข้อมูลผู้ใช้ระบบ ข้อมูลนักศึกษา ข้อมูลคณะ ข้อมูลสาขา ข้อมูลไฟล์ผลงานดั้งเดิม ข้อมูลผลการตรวจรูปแบบของเจ้าหน้าที่ และข้อมูลการแก้ไขรูปแบบของนักศึกษา การศึกษาค้นคว้าอิสระ เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศใช้หลักการของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ เริ่มจากการศีกษาความเป็นไปได้ของระบบ โดยการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องจํานวนทั้งสิ้น 9 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสํานักงานประสานงานบัณฑิตศึกษา เจ้าหน้าที่สำนักงานประสานงานบัณฑิตศึกษา จํานวน 3 คน และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาซึ่งกำลังจะสำเร็จการศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2558 จํานวน 5 คน จากนั้นวิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยใช้โปรแกรม AppServ เวอร์ชัน 2.5.10 โปรแกรม jQuery เวอร์ชัน 2.1.4 โปรแกรม Adobe Dreamweaver CS6 และ Cascading Style Sheets (CSS) ภายใต้ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows 7 หลังจากนั้นได้ให้ผู้เกี่ยวข้องจํานวนทั้งสิ้น 20 คน ประกอบด้วย รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผู้อำนวยการสำนักงานประสานงานบัณฑิตศึกษา เจ้าหน้าที่สำนักงานประสานงานบัณฑิตศึกษา จํานวน 3 คน และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา กำลังจะสําเร็จการศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จํานวน 15 คน ทดลองใช้และประเมินความพึงพอใจที่มีต่อระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้น ผลการศึกษาทำให้ได้ระบบสารสนเทศที่สามารถบันทึก แก้ไข ค้นหา และแสดงผลข้อมูลเพื่อติดตามการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระของมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ จากการประเมินของผู้ใช้พบว่ามีความพึงพอใจในด้านการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ การรายงานผล และภาพรวมของระบบในระดับมาก ส่วนการค้นหาข้อมูล ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectวิทยานิพนธ์--การเขียนth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of an information system for tracking format checks of theses and independent studies : a case of Thepsatri Tajabhat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to develop an information system for tracking format checks of theses and independent studies at Thepsatri Rajabhat University. The information system covered various categories of data such as system user, student, faculty, major, original thesis files, results of format checks by staff, and student revisions. This study was research and development. The system development life cycle methodology was used, starting with a preliminary study conducted by interviewing 9 people, both staff and students, namely the Director of the Office of Graduate Studies, 3 staff members of this office and 5 graduate students who are graduating in the first semester of the 2015 academic year. The analysis, design and development of the new system were carried out accordingly. AppServ 2.5.10, jQuery 2.1.4, Adobe Dreamweaver CS6 and Cascading Style Sheets (CSS) under Microsoft Windows 7 operating system were used as research tools. The evaluation of the system was then performed by 20 people, both staff and students, namely the Vice Rector for Academic Affairs, the Director of the Office of Graduate Studies, 3 staff members of this office and 15 graduate students who are graduating in the first semester of the 2015 academic year. The study showed that the information system allowed users to conveniently and efficiently store, update, retrieve and display data for tracking format checks of theses and independent studies at Thepsatri Rajabhat University. The evaluation by the users revealed that most users were satisfied with the system at a high level in 3 aspects, i.e., inputting, reporting, and the overall system. However, the searching aspect was found to be at the highest level of user satisfactionen_US
Appears in Collections:Arts-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons