Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/833
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วิไลวรรณ ทองเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ชฎาภรณ์ ศรบุญทอง, 2516- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T06:56:38Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T06:56:38Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/833 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมการลดระดับไขมันในเลือด ระดับไขมันในเลือด และดัชนีมวลกายของบุคคลวัยทำงานที่มีภาวะไขมันในเลือดสูง ระหว่างก่อนและหลังใช้กระบวนการจัดการความรู้ และสังเคราะห์แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการไขมันในเลือดสูง กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครกลุ่มวัยทำงานอายุระหว่าง 25-59 ปี ที่อาศัยอยู่ในชุมชนหอมแดง อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ และตรวจพบไขมันในเลือดสูง โดยมีข้อมูลบันทึกในฐานข้อมูล Himpro โรงพยาบาลยางชุมน้อย ได้จากการเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ในการคัดเข้าศึกษาจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองเป็นชุดของกิจกรรมกลุ่มตามกระบวนการจัดการความรู้ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยใช้แนวคิดกระบวนการจัดการความรู้ของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.ร.) และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติซึ่งพัฒนามาจากแนวคิดการจัดการความรู้ของโนนากะและทาคิวชิ ใช้ระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป ความรู้ในการจัดการลด ระดับไขมันในเลือดและพฤติกรรมการลดระดับไขมันในเลือด ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามส่วนที่ 2 และ 3 เท่ากับ 0.86 และ 0.95 ตามลำดับ อุปกรณ์การตรวจระดับไขมันในเลือด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้และพฤติกรรมในการจัดการลดระดับไขมันในเลือด หลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ระดับไขมันในเลือดและดัชนีมวล กายหลังการทดลองต่ำกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการไขมันในเลือดสูง คือ ตั้งเป้าหมายและปฏิบัติตามพันธะสัญญาของกลุ่มออกกำลังกายให้ได้อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน วันละ 30 นาที ออกกำลังกายไปพร้อมกับการทำงานที่แปลงหอม รับประทานอาหารแต่พอดี หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง อาหารผัด ทอดโดยเฉพาะแมลงทอด ชา กาแฟ ลดเนื้อสัตว์ แป้ง และอาหารมื้อเย็น รับประทานผัก ปลา ธัญพืชและสมุนไพรพื้นบ้านให้มากขึ้น ดำเนินชีวิตตามคำสอนทางพระพุทธศาสนา ทำบุญตามประเพณี และมีกิจกรรมพักผ่อนหย่อนใจ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ไขมันในเลือด | th_TH |
dc.subject | ภาวะไขมันสูงในเลือด | th_TH |
dc.subject | การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย | th_TH |
dc.title | ผลของการจัดการความรู้ต่อระดับไขมันในเลือดและดัชนีมวลกายของวัยทำงานที่มีไขมันในเลือดสูง ชุมชนหอมแดง อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of knowledge management on the lipidemia level and the boby mass index for a group of working age with lipidemia in Homdaeng community, Yang Chum Noi District, Sisaket Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this quasi-experimental research were: (1) to compare knowledge and behaviors to reduce a lipidemia level, the lipidemia level, and the body mass index of a working age group with lipidemia between before and after using knowledge management and (2) to synthesis good practices in managing the lipidemia level of this group. The sample comprised of 30 volunteers of working age between 25-59 years old, living in Homdaeng Community, Yang chum Noi District, Srisaket Province. They were detected high lipidemia level, and their data were recorded in the Himpro database of Yang Chum Noi Hospital. They were selected by purposive sampling and were recruited by inclusion and exclusion criteria. The experimental tool was a set of group activities designed based on a knowledge management process of the Office of the Civil Service Commission (CSC) and the National Productivity Institute. This process was developed from Nonaka and Takeuchi’s knowledge management concept. Time of intervention was 8 weeks. The collecting data tool was questionnaire with 3 parts: general data , knowledge in managing the lipidemia level and behaviors in reducing the lipidemia level. The reliabilities of parts 2 and 3 were 0.86 and 0.95 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics and paired ttest. The results found as follows. After the experiment, knowledge and behaviors in reducing the lipidemia level were significantly higher than before ( p < .05) . The lipidemia level and the body mass index were significantly lower than before the experiment (p < .05). The guidelines of good practice consisted of setting the goal to reduce the lipidemia level and practice as group commitment. The guidelines included: doing exercises at least 5 days a week and 30 minutes a day; and doing exercises while working on the onion fields; eating enough food, avoiding to eat high lipid food, fried foods especially fried insects, tea, and coffee; eating less meat and carbohydrates; including dinner; increasing to eat vegetables, fish, whole grains, and herbs; conducting of life based on principles of Buddhism, merit-making based on tradition; and doing recreational activities | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext 156760.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License