Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8346
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญth_TH
dc.contributor.authorนิจจารีย์ มีโชติ, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-31T12:11:44Z-
dc.date.available2023-07-31T12:11:44Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8346en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม (โชห่วย) ในการเข้ามาของธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ (2) ระดับการปรับตัวของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม (โชห่วย) การศึกษาครั้งนี้ประชากรคือ ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม (โชห่วย) ที่ดำเนินกิจการอยู่ใน จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 2,700 ร้านค้า กำหนดขนาดตัวอย่าง จำนวน 348 ตัวอย่าง มีวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนคือ 1) สุ่มอย่างง่าย เป็นการสุ่มพื้นที่อำเภอในจังหวัดนครสวรรค์ ได้แก่ อำเภอเมืองฯ อำเภอชุมแสง และอำเภอเกาเลี้ยว ขั้นตอนที่ 2) สุ่มร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมโดยใช้วิธีตามสะดวก จำนวน 348 ร้านค้า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบใน ด้านการตลาด ด้านการเงินอยู่ในระดับปานกลาง และด้านการดำเนินการอยู่ในระดับน้อย (2) การปรับตัวของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม (โชห่วย) ด้านการตลาด มีการปรับตัวในระดับปานกลาง ส่วนด้านการเงินและด้านการจัดการภายในอยู่ในระดับน้อย สำหรับการปรับตัวด้านการบริหารงานบุคคลและด้านสารสนเทศมีการปรับตัวน้อยที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectร้านค้าปลีก--ไทย--นครสวรรค์th_TH
dc.titleการปรับตัวของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม (โซ่ห่วย) ในจังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeAdaptation of traditional retail shop (Chohuay) in Nakhonsawan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) the level of effect towards this type of traditional business resulted by the modern incoming retail business, and (2) the adjustment level of traditional retail business. The population of this study consisted of 348 samples taken from the owners of 2,700 retail shops in Nakhonsawan. (Source: Office of Trade in Nakhonwan) The multi-sampling random was applied: first, simple-random sampling was used in 3 districts in Nakhonsawan – Amphur Muang. Chumsaeng. And Kawleaw and second. randomized the 348 retail shops at convenient time. The data was analyzed by using Percentage, Means, Standard Deviation. The findings showed that most female respondents were over 46 years old, graduated with primary and secondary level, and have been running their small business for 6-10 years in 6 square-meter shops. Their proprietorship business made them earn about 10,000 baht/month. The financial effect resulted by modern type trading was at moderate level but low level on management. The adjustment of traditional retail business, known as chohuay, in marketing aspect was also at moderate level while showing low level on financial and managerial aspect. The lowest level adjustment was on personnel management and information technology.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_137428.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons