กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8351
ชื่อเรื่อง: การจูงใจให้ผู้เสียภาษีมายื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The motivational method for taxpayers' personal income tex declaration (p.n.d.90, p.n.d.91) from in tax year 2552 on due time of the revenue department, Samutprakarn Provincial Branch 1, Muang District, Samutprakarn Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: เฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษา
สุรเชษฐ์ เชาว์ศิลป์, 2505-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การชำระบัญชี
การจูงใจ (จิตวิทยา)
การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ
วันที่เผยแพร่: 2552
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาวิธีจูงใจให้ผู้เสียภาษีมายื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.90, ภ.ง.ด.91) ปีภาษี 2552 ตามกำหนดเวลาของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาเมืองสมุทรปราการ : อำเกอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้เสียภามีที่มีต่อวิธีการจูงใจให้มายื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมคา (ภ.ง ด.90. ภ.ง.ด.91) ปีภาษี 2552 ตามกำหนดเวลาของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาเมืองสมุทรปราการ 1 อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับวิธีการจูงใจผู้เสียภาษีให้มายื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.90, ภ.ง.ด. 91) ปีภาษี 2552 ตามกำหนดเวลาของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาเมืองสมุทรปราการ 1 อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ และ (4) ศึกษาพฤติกรรมในการอื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง ด.90. ภ.ง.ด.91) ปีภาษี 2552 ตามกำหนดเวลาของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาเมืองสมุทรปราการ อำเภอเมือง จังหวัคสมุทรปราการ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นผู้เสียภามีเงินได้บุคคลธรรดา(ภ.ง.ด.90, ภ.ง.ด. 91) ปีภาษี 2552 ที่ยืนแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาเมืองสมุทรปราการ 1 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในกาวิเคราะห์ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ คาเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและการเปรียบเทียบความแตกต่างแบบรายคู่ตัวยวิธีการแอลเอสดี ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า (1) วิธีจูงใจให้ผู้เสียภาษีมายื่นแสดงรายการชำระภาษีเงินไห้บุคคธธรรมดา (ภ.ง.ด.90, ภ.ง.ด. 91) ปีภาษี 2552 สามอันดับแรก ได้แก่ การจับรางวัลชิงโชคสำหรับผู้ยื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การมีแบบฟอร์มต่าง ๆ ครบถ้วน มีคำแนะนำในการกรอกอ่านเข้าใจง่าย และสถานที่ให้บริการหาง่าย เดินทางไปใช้บริการสะดวก (2) ผู้เสียภาษีที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อวิธีการจูงใจให้มายื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินใด้บุคคลธรรมดาต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.0 (3) ปัญหาที่ทำให้ผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีล่าช้า สามอันดับแรก ให้แก้ ปัญหามีเงินไม่เพียงพอที่จะต้องชำระภาษี เอกสารประกอบการยื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีไม่เรียบร้อย และเจ้าหน้าที่ไม่สนใจ ไม่สุภาพ (4) พฤติกรรมในการยื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินใด้บุคคลธรรมดา(ภ.ง.ด.90, ภ.ง.ด. 91) ปีภาษี 2552 ผู้เสียภาษีมายื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วยตนเอง มากกว่าการใช้ตัวแทน
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8351
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext_119401.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.98 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons