Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8359
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอารีย์ พริ้งงามเด่น, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-02T08:33:33Z-
dc.date.available2023-08-02T08:33:33Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8359-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลลักษณะส่วนบุคคลของผู้บริโภค ในจังหวัดเชียงราย (2) พฤติกรรมการซื้อที่นอนของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงราย (3) ระดับความสำคัญของส่วนประสมการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อที่นอนของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงราย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ประชากรผู้ที่เคยซื้อที่นอนในจังหวัดเชียงราย กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากประชากรไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน โดยใช้ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จำนวน 400 ราย เลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความถี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31–40 ปี รายได้ เฉลี่ยต่อเดือน 15,000-25,000 บาท การศึกษาปริญญาตรี/เทียบเท่า จำนวนสมาชิกในครอบครัว 4 คน ลักษณะที่อยู่อาศัยบ้านเดี่ยวชั้นเดี่ยว (2) พฤติกรรมการซื้อที่นอนของผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นที่นอนสปริง เคยใช้ที่นอนยี่ห้อซาติน มีวัตถุประสงค์ซื้อที่นอน นอนหลับสบายไม่ยุบตัว ไม่ปวดเอว ปวดหลัง จะซื้อที่นอนยี่ห้อใหม่ โดยตัดสินใจซื้อด้วยตนเอง โอกาสที่ซื้อ 4 ปี ขึ้นไป ซื้อในระดับราคา 5,001-10,000 บาท ซื้อจากร้านขายเฟอร์นิเจอร์ มีการเปรียบเทียบราคาสินค้าก่อนซื้อ ทราบข้อมูลจากแผ่นพับของร้านจำหน่ายมีการต่อรองสินค้า และชำระเงินด้วยเงินสด (3) ระดับความสำคัญของส่วนประสมการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อที่นอนยางพารา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านราคาอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเครื่องเรือนth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อที่นอนยางพาราของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeBuying behavior of latex mattresses' consumers in Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study: (1) the personal characteristics of consumers in Chiang Rai Province; (2) the consumer’s behavior of buying latex mattresses in Chiang Rai Province; and (3) the importance level of market mix factors affecting the latex mattress buying behavior of consumers in Chiang Rai Province. This study was a survey research. Population were consumers who bought the mattress in Chiang Rai Province. The sample size was an infinite population with the confidence level at 95%. 400 samples were selected by using convenience sampling. The questionnaires were used as a tool to collect data. The statistics used for data analysis were percentage, mean, frequency and standard deviation. The result showed that (1) the majority of respondents were female who held bachelor degree or equivalent with the aged between 31 – 40 years old, and the average monthly income between 15,000 – 25,000 Baht. They lived in the single house with 4 members in the family. (2) Consumer’s behavior in buying latex mattresses was mostly buying spring mattress brand “Satin”. The buying objective was the firmness of mattresses and no back and lumbar pain. They bought a new brand and decided by themselves and purchased up to four years from the furniture shop with the price between 5,001-10,000 Baht. They compared the prices before purchasing, received the information from shop’s brochure, negotiated the price and paid by cash. (3) The important level of marketing mix factors affecting the latex mattress purchasing behavior was at a high level. When considering in each aspect, it was found that the highest level were price, followed by service process, physical environment, product, place, personnel and promotion, respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151754.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons