Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8360
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสิรภัทรญ์ ตันตระกูล, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-02T08:54:53Z-
dc.date.available2023-08-02T08:54:53Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8360-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อส่วนประสมการตลาดของ ห้างโฮมโปร สาขาจังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าของ ห้างโฮมโปร สาขานครศรีธรรมราช (2) ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อส่วนประสมการตลาดของ ห้างโฮมโปร สาขานครศรีธรรมราช (3) เปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อส่วนประสมการตลาดของห้างโฮมโปร สาขานครศรีธรรมราช โดยจำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ลูกค้าที่ใช้บริการ ห้างโฮมโปร สาขานครศรีธรรมราช จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล คือ ค่าร้อยละ ในส่วนของการวิเคราะห์ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อส่วนประสมการตลาด สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับการเปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าโดยจำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อทดสอบสมมติฐาน โดยใช้สถิติค่าที และค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ลูกค้าที่เป็นกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 76.8 มีอายุ 35 – 44 ปี ร้อยละ 62.5 การศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 52.5 ทำงานเป็นพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 48.5 มีรายได้ 20,001-30,000 บาท ร้อยละ 31.0 (2) ลูกค้ามีความพึงพอใจ ต่อส่วนประสมการตลาดด้านสินค้าและบริการ ราคา สถานที่บริการ อยู่ในระดับมาก ส่วนความ พึงพอใจต่อการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง (3) ลูกค้าที่มีเพศ อายุ รายได้ การศึกษา แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อส่วนประสมการตลาดด้านสินค้าและบริการ สถานที่บริการ และ การส่งเสริมการตลาด แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนลูกค้าที่มีอาชีพแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อส่วนประสมการตลาดไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทโฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์th_TH
dc.subjectความพอใจของผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อส่วนประสมการตลาดของห้างโฮมโปร สาขานครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeCustomer satisfaction towards marketing mix of Homepro Nakhon Si Thammaraten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeAbstract The purpose of this study was to study (1) personal characteristics of the customers of Homepro Nakhonsrithammarat; (2) satisfaction towards marketing mix factors of Homepro Nakhonsrithammarat; and (3) comparison between customer satisfaction and marketing mix classified by personal characteristics. This study was a survey research. The samples consisted of 400 customers of HomePro Nakhonsrithammarat, using systematic random sampling. The instrument used was a questionnaire. Statistical analysis employed was mean, standard deviation, t-test and F-test respectively. The results had been found that (1) 76.8% of respondents were female, 62.5% were age between 35 – 44 years old, 52.5% were bachelor degree holders, 48.5% were private officers and 31.0% earned monthly income between 20,001 – 30,000 baht. (2) The respondents were satisfied with marketing mix factors including product, price, place, at a high level; and promotion at a middle level. (3) The respondents who had different gender, age, income and education were satisfied with the marketing mix factors of product, place, and promotion at a significant difference of 0.05 level. Finally, no significant difference was found among customers whose difference in occupationen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151516.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons