Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8364
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิชญภา กาลามเกษตร์, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-02T10:02:07Z-
dc.date.available2023-08-02T10:02:07Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8364-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ที่เคยร่วมหรือรู้จัก โครงการด้าน ความปลอดภัยบนท้องถนน ของบริษัท โตโยต้ามอเตอร์ ประเทศไทย จํากัด (2) ระดับความคาดหวังและระดับการรับรู้ของประชาชนต่อโครงการด้านความปลอดภัยบนท้องถนน (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของการคาดหวังและการรับรู้ของประชาชนต่อโครงการด้านความปลอดภัยบนท้องถนน จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรคือประชาชนที่มีอายุระหว่าง 18-60 ปี ที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 4,407,784 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้ ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จำนวน 400 คน ซึ่งเป็นผู้ที่เคยเข้าร่วมหรือรู้จักโครงการด้านความปลอดภัยบนท้องถนน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษา พบว่า ( 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 26-35 ปี สถานภาพ โสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี เป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้ต่อเดือน 15,001-25,000 บาท รู้จัก โครงการฯ ถนนสีขาวมากที่สุด โดยได้รับข้อมูลเกี่ยวกับโครงการฯ จากสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์หรือวิทยุ (2) ระดับความคาดหวังและระดับการรับรู้ของประชาชนต่อโครงการฯ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากตามลำดับคือ ด้านผลลัพธ์/ประโยชน์ต่อประชาชน ด้านผลลัพธ์/ประโยชน์ต่อประเด็นปัญหาของ สังคม และด้านผลลัพธ์/ประโยชน์ต่อองค์กร (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของระดับความคาดหวังและ ระดับการรับรู้ต่อโครงการฯ พบว่า อายุ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกันมีระดับความคาดหวังและระดับการรับรู้แตกต่างกัน โดยมีระดับความคาดหวังมากกว่าระดับการรับรู้ในด้านผลลัพธ์/ประโยชน์ต่อ ประชาชนผู้ใช้รถใช้ถนน และด้านผลลัพธ์/ประโยชน์ต่อประเด็นปัญหาของสังคม ขณะที่ด้านผลลัพธ์/ ประโยชน์ต่อองค์กร มีระดับการรับรู้มากกว่าระดับความคาดหวัง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความปลอดภัยในท้องถนนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleความคาดหวังและการรับรู้ของประชาชนต่อโครงการด้านความปลอดภัยบนท้องถนนของบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeExpectation and perception of people on the road safety project of Toyota Motor Thailand Company Limited in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) personal characteristics of people who have knowledge of the Road Safety Project of Toyota Motor Thailand Company Limited; (2) expectation and perception levels of people toward the Road Safety Project; and (3) the comparison between the expectation and perception levels of people toward the Road Safety Project classified by personal characteristics. This study was a survey research. The population was 4,407,784 people aged around 18- 60 years old and had a name in census registration of Bangkok Metropolis. The sampling size was 400 people who have knowledge of the Road Safety Project and were selected by multi stage sampling with 95 percent of confidence. A questionnaires were used as a tool to collect the data. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, average, standard deviation, t-test and F-Test. The study result showed that (1) the majority of respondents were 26 – 35 years old, had a Bachelor Degree, and worked in the private sector with the average monthly income of 15,001 – 25,000 Baht. They had knowledge of the white road project the most and they received the project information from TV commercials or radio stations. (2) The overall expectation and perception levels toward the Road Safety Project were at a high level. When considering each aspect, the outcomes of people’s benefits were the highest; follow by the outcomes of social benefits and the outcomes of organization benefits respectively. (3) For comparison between the expectation and perception levels of people toward the Road Safety Project, it was found that people who had the different age, occupation and income had the differences of the expectation and perception levels. When considering each aspect, the expectation level was higher than the perception level in terms of the outcomes of people’s benefits and the outcomes of social benefits. Whereas the perception level of the outcomes of organization benefits was higher than the expectation level with significant differences of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148801.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons