Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8368
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสรรัตน์ ปวริญญานนท์, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-02T12:57:49Z-
dc.date.available2023-08-02T12:57:49Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8368-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) ประเมินกลยุทธ์ของกองแผนงาน กรมชลประทาน (2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกลยุทธ์ของกองแผนงาน กรมชลประทาน การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบสำรวจ ประชากรเป็น ข้าราชการกอง แผนงาน และผู้ประสานแผนงานด้านงบประมาณและการก่อสร้างจากสำนักชลประทานที่ 1-17 และเจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง รวมทั้งสิ้น 90 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม ซึ่งเป็นคำถามแบบปลายปิดและปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลการประเมินกลยุทธ์ของกองแผนงาน กรมชลประทาน ใน 4 มิติ คือ มิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติด้านการพัฒนาองค์กร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากและทุกมิติอยู่ ในระดับมาก (2) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกลยุทธ์ของกองแผนงาน กรมชลประทาน มี 4 ประการได้แก่ ควรกำหนดนโยบายให้ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบันและสามารถนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติได้ ควรนำระบบสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อให้การบริการเกิดความรวดเร็วและสามารถตอบสนองความต้องการ สำนัก/กองได้ ควรมีการแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อเร่งรัดติดตามการจัดทำแผนงานและแผนปฏิบัติงาน ของกรมชลประทานเพื่อให้สามารถจัดทำรายงาน เสนอข้อมูลให้ผู้บริหารประกอบการตัดสินใจได้ ทันเวลา และควรพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะอย่างต่อเนื่องทั้งในด้านการจัดทำงบประมาณ แผนงาน ตลอดจนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้กรมชลประทานมีบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและสามารถปฏิบัติงานได้อยางมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพัฒนาองค์การ--การประเมินผลth_TH
dc.subjectการพัฒนาองค์การ--การวางแผนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการประเมินกลยุทธ์ของกองแผนงาน กรมชลประทานth_TH
dc.title.alternativeStrategic evaluation of Public Sector Development Division in Royal Irrigation Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) evaluate the strategies of Public Sector Development Division, Royal Irrigation Department; and (2) recommend the improvement of Public Sector Development Division’s strategies, Royal Irrigation Department. This independent study was a survey research. Population consisted of government officers of Public Sector Development Division, Royal Irrigation Department, together with budget and construction coordinators from Regional Irrigation Office 1 – 17, and officers from Central Part of Royal Irrigation Department; 90 officers were included totally. Instrument used was questionnaire with opened – ended and closed – ended questions. Statistical tools employed were mean, percentage and standard deviation. The results revealed that (1) strategies of Public Sector Development Division, in all dimensions which were: effectiveness according to mission, service quality, operational efficiency, and organizational development, were in high level; and (2) recommendations were: the strategies should be determined in accordance with current situation and easy to implement, information technology system should be installed to enhance speedy service so the Division could respond other units’ needs promptly, working teams should be appointed to follow up the program and action plan development which would lead to the ability to prepare executive report in time, personnel should be trained continuously in budgeting, planning, and information technology so to increase their readiness for change and their operational efficiencyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_133780.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons