Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8376
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รสคนธ์ รัตนเสริมพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ปภาวดี ประจักษ์ศุภนิติ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วิศัลยา พูพัฒนานุรักษ์, 2503- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-03T01:15:41Z | - |
dc.date.available | 2023-08-03T01:15:41Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8376 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงศ์เพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมใน การปฏิบัติหน้าที่ในยุคปฏิรูประบบราชการของพนักงานเทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนครอุดรธานี และ เทศบาลนครตรัง 2) เปรียบเทียบความดิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ในยุคปฎิรูป ระบบราชการของพนักงานเทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนครอุดรธานี และเทศบาลนครตรัง 3) ศึกษาความ คิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคต่อความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ในยุคปฎิรูปประบบราชการของพนักงาน เทศบาลพิษณุโลก เทศบาลอุดรธานี และเทศบาลนครตรัง และ 4) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาความพร้อมใน การปฏิบัติหน้าที่ในยุคปฎิรูประบบราชการของพนักงานเทศบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรเทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนครอุดรธานี และเทศบาลนครตรัง จำนวน 254 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยทั้ง 7 ด้าน ได้แก่ (1) ความรู้ความเข้าใจในการทำงาน (2) การสนับสนุน การทำงานจากผู้บังคับบัญชา (3) การมีส่วนร่วมของพนักงาน (4) การสื่อสาร (5) การฝึกอบรม (6) เครื่องมือใน การทำงาน และ (7) ค่านิยมของบุคลากร ส่งผลต่อความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ ในระดับมาก 2) ความดิดเห็น ของบุคลากรในแต่ละหน่วยงานเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่มีความนตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยเมื่อพิจารฌาเป็นรายปัจจัย พบว่าด้านเครื่องมือในการทำงาน ไม่แตกต่างกัน 3) ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญคือ พนักงานยึดติดกับค่านิยมในการทำงานแบบเดิมและระบบอุปถัมภ์ และพนักงาน ขาดทักษะ ความรู้ความเข้าใจในการทำงาน ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ในยุคปฎิรูประบบราชการของพนักงาน เทศบาล คือ การปลูกฝังให้มีความสามัคคีในหมู่พนักงาน การสร้างค่านิยมใหม่ให้ปฏิบัติหน้าที่โดยมีจิตสำนึกที่ คำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ผู้บริหารเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรม มีการอบรมพัฒนา ทักษะการทำงานของพนักงานให้มีความรู้ในการปฏิบัติหน้าที่ อย่างต่อเนื่องและทั่วถึง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.143 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เทศบาลนครพิษณุโลก -- พนักงาน | th_TH |
dc.subject | เทศบาลนครอุดรธานี -- พนักงาน | th_TH |
dc.subject | เทศบาลนครตรัง -- พนักงาน | th_TH |
dc.subject | การทำงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ในยุคปฏิรูประบบราชการของพนักงานเทศบาล : กรณีศึกษาเทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนครอุดรธานี และเทศบาลนครตรัง | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the operational readiness of municipal officials in public sector reform period : a case study of Phitsanulok, Udon Thani, and Trang Municipalities | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives ofthis study were to 1) examine the opinion of Phitsanulok, Udon Thani, and Trang municipal officials concerning factors affecting Their operational readiness in public sector reform period 2) compare the opinions of Phitsanulok, Udon Thani, and Trang municipal officials concerning factors affecting Their operational readiness in public sector reform period 3) study the opinion of Phitsanulok, Udon Thani, and Trang municipal officials concerning the problems and obstacles of their operational readiness in public sector reform period and 4) recommend the appropriate approach to develop the operational readiness of municipal officials in public sector reform period The samples consisted of 254 municipal officials of Phitsanulok, Udon Thani, and Trang municipalities. The instrument used was questionnaire. The Statistics employed were percentile, mean and standard deviation, and one wav ANOVA. The research findings revealed that 1) all the 7 factors which were (1) job Knowledge and understanding, (2) supervisor support, (3) personnel participation. (4) communication, (5) training, (6) working equipment and (7) personnel value, affected the official operational readiness in high level 2) the opinion of officials in different municipalities concerning factors affecting factors operational readiness were different with 0.5 level of significance, when considered each factor. It was found that there was no difference in factor of working equipment 3) the important problems and obstacles were the personnel value of conventional way of working and the patronage system practiced in the offices, together with the lack of job skill, knowledge and understanding of municipal officials Recommendations to develop the operational readiness of municipal officials were : the indoctrination ot employee cohesiveness, the creation of new value in performing with people benefits as first priority, management should act as role model of those who performed with ethics and morality, and officials should be trained continuously and thoroughly so consequently all would develop suitable skill, knowledge and understanding in the duties assigned | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License