Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8377
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิไล วัฒนดำรงค์กิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสร้อยสน สุจริต, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T01:42:04Z-
dc.date.available2023-08-03T01:42:04Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8377-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสำเร็จของการนำการจัดการความรู้มาใช้ในสำนัก ข่าวกรองแห่งชาติ- 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิหลต่อความสำเร็จในการนำการจัดการความรู้มาใช้ในสำนัก ข่าวกรองแห่งชาติ และ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดการความรู้มาใช้ในสำนักข่าวกรองแห่งชาติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นข้าราชการสำนักข่าวกรองแห่งชาติ โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างตาม แนวคิดของ Taro Yamane ไว้จำนวน 278 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามชนิดให้เลือกตอบ (Checklist) และ แบบสอบถามแบบปลายเปิด การวิเคราะห์ค่าทดสอบสถิติ t (t- test) และการวิเคราะห์การ ถดถอยพทุคูณแบบขั้นตอน (stepwise multiple regression analysis) ผลการศึกษาวิจัยพบว่าความสำเร็จในการนำการจัดการความรู้มาใช้ในสำนักข่าวกรองแห่งชาติ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 74.5 อย่างมีนัยสำคญทางสถิติ ณ ระดับ .05 และ ตัวแปรอิสระที่สามารถ อธิบายถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการนำการจัดการความรู้มาใช้ในสำนักข่าวกรองแห่งชาติ จำนวน 3 ตัวแปร เรียงลำดับตามตัวแปรที่มีอิทธิพลมากที่สุด ได้แก่ ตัวแปรด้านความรู้ความเข้าใจ ตัวแปรด้านวัฒนธรรม องค์กร และตัวแปรด้านความชัดเจนของนโยบายและกลยุทธ์ สำหรับประเด็นปัญหาอุปสรรคของกลุ่มตัวอย่างและการวิจัย คือ ข้าราชการบางส่วนยังขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจด้านการจัดการความรู้ และขาดการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ วัฒนธรรมการทำงานที่ ไม่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมด้านการจัดการความรู้มากนักเนื่องจากมีภารกิจในการปฏิบัติงานมาก นอกจากนี้ยัง ขาดการประชาสัมพันธ์ภายในหน่วยงานที่ดี อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ยังไม่เพียงพอและไม่ทันสมัย ชึ่งอาจส่งผล ให้การดำเนินการด้านการจัดการความรู้อาจไม่เป็นไปตามแผนงาน จากผลการวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะดังนี้ คือ องค์กรควรได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา โดยชักจูงให้ข้าราชการมีความเข้าใจและเห็นถึงประโยชน์ของการจัดการความรู้โดยปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร ที่เต็มใจแลกเปลี่ยนความรู้ชึ่งกันและกัน มีหน่วยงานกลางด้านการจัดการความรู้พื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความรู้ มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้อย่างทั่วถึงต่อเนื่อง และการเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่ค้นหาได้ง่าย สะดวก และทันสมัย และควรสนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นและทันสมัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักข่าวกรองแห่งชาติth_TH
dc.subjectการจัดการองค์การth_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการนำการจัดการความรู้มาใช้ในองค์กร : กรณีศึกษาสำนักข่าวกรองแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the achievement of implementing knowledge management in organization : a case study of National Intelligence Agencyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research were to 1) study the achievement of implementing knowledge management in National Intelligence Agency. 2) study the factors influencing the achievement 3) suggest the appropriate approach to successfully implement knowledge management in National Intelligence Agency. Research samples were 278 National Intelligence Officers, determined according to Taro Yamane tables. The instrument used was checklist questionnaire with open ended answer. Statistical tools employed for data analysis were t-test and multiple regression. The research result revealed that the achievement of implementing knowledge management in National Intelligence Agency was at moderate level, or 74.5 % with .05 level of significance. The study found that there were three independent variables positively influenced the achievement; e.g. knowledge and understanding, corporate culture , and clarity of policy and strategy. Obstacles found were lack of understanding of knowledge management on the part of personnel and failure to exchange knowledge, organization nature that did not foster knowledge management activities due to overloaded tasks, and lack of effective public relations within the organization. Moreover, there was problem of insufficient modem equipment so consequently knowledge could not be managed as planned. Based on the major findings, it was recommended that the management should put more emphasis on supporting and encouraging the officers to understand more the benefit of knowledge management, they should change original organizational culture to culture of knowledge sharing, Knowledge management center should be established to facilitate the sharing of knowledge and experiences. Moreover, the management should promote the dissemination of knowledge to all personnel continuously, and should also facilitate the access to modem information sources, while at the same time equip the officers with modem and needed equipmentsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
99022.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons