Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8381
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจุมพล หนิมพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสันติ บุญรอด, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T02:49:55Z-
dc.date.available2023-08-03T02:49:55Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8381-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิผลและประสิทธิภาพใน การให้บริการประชาชนด้านทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนอำเภอ (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอทธิพล ต่อความมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการให้บริการ และ (3) เสนอแนะแนวทางในการ ปรับปรุงการให้การบริการประชาชนด้านทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนอำเภอ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยประชากรที่ศึกษาเป็นสำนักทะเบียนใน จังหวัดสุราษฎร์ธานี และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนผู้รับบริการ จำนวน 400 คน และเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ จำนวน 48 คน จากสำนักทะเบียนอำเภอจำนวน 12 แห่ง ส่วนเครื่องมือ ที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีจำนวน 2 ชุด ชุดแรกใช้สอบถามประชาชนผู้รับบริการชุดที่สองใช้ สอบถามเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ โดยมีค่าความเชื่อถือได้เท่ากับ .94 ทั้งสองชุด สำหรับสถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน ของสำนักทะเบียนอำเภอ อยู่ในระดับมากกว่าร้อยละ 70 โดยได้ค่าจากการทดสอบ significance <.05 และค่า t >0 ซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ทั้งไวั (2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ต่าง ๆ กับระดับประสิทธิผลและประสิทธิภาพ พบว่า ปัจจัยด้านพฤติกรรมการให้บริการ ระบบ การบริการ และ หลักการบริการ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลการให้บริการประชาชน และปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหารมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิภาพการให้บริการ ประชาชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากการวิจัยมีข้อเสนอแนะในการพัฒนาการให้บริการ ได้แก่ การพัฒนาพฤติกรรม การให้บริการของเจ้าหน้าที่ การพัฒนาระบบการบริการ การพัฒนาหลักการบริการ รวมทั้ง การพัฒนาทรัพยากรการบริหารงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.233en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักทะเบียนอำเภอ -- ไทย -- สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.subjectทะเบียนราษฎร์th_TH
dc.titleประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการให้การบริการประชาชนด้านการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนอำเภอ : ศึกษากรณีจังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeEfficiency and effectiveness of registration service delivery in district civil registration office : a case study of Suratthani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the efficiency and effectiveness of registration service delivery provided by district civil registration office (2) study the factors influencing the efficiency and effectiveness of registration service delivery in district civil regidtration office, and (3) suggest how to increase the efficiency and effectiveness of registration service delivery. The study was a survey research. Populations were district civil regidtration offices in Suratthani Province. Sample sizes were 400 service recipients and 48 officers in 12 district civil registration offices. Instrument used were questionnaires with .94 reliability tested. Statistical tools employed were percentages, mean, standard deviation, t-test and stepwise regression analysis. The reseych finding showed that (1) effectiveness and efficiency of the registration service delivery were higher than 70% at < 0.05 level of significance and t value > 0 (2) three factors influenced the effectiveness - the public service behavior, the public service system and the public service principle - were significantly related positively with the effectiveness at < 0 05 level, while the administration resources factors was significantly related with the efficiency at 0.05 level of significance. In order to increase the efficiency and effectiveness of registration service delivery, it was recommended that the management should support the development of service behavior of the officials, public service system, and public service principle, as well as administration resourcesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100793.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons