Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8382
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรพล เห็มพีระ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T02:57:17Z-
dc.date.available2023-08-03T02:57:17Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8382-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานแผนกวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยานของสายการบินแอร์เอเชียในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 2019 (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานแผนกวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยานของสายการบินแอร์เอเชียในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 2019 จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานแผนกวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยานของสายการบิน แอร์เอเชียในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 2019 การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานแผนกวิศวกรรม ซ่อมบำรุงอากาศยานของสายการบินแอร์เอเชีย จานวน 721 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของ ทาโร ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 260 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงาน โดยภาพรวมและทุกด้าน อยู่ในระดับมากทั้ง 7 ด้าน (2) การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงาน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า พนักงานที่มีเพศ สถานภาพ ตำแหน่งงาน และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิต การทำงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน ได้แก่ ด้านการบริหารสวัสดิการและค่าตอบแทน ควรมีการทบทวนในเรื่องของสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาลให้กับพนักงานโดยคานึงถึงสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน ควรมีการเตรียมความพร้อมในเรื่องของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายในด้านต่างๆ อย่างเพียงพอและพร้อมใช้งาน ตลอดจนมาตรการความปลอดภัยของพนักงานในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคโควิด 2019 ด้านส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงาน ควรมีการจัดทำแพลตฟอร์มเพื่อให้พนักงาน ได้เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างทั่วถึง และด้านการส่งเสริมความก้าวหน้าและมั่นคงของพนักงาน ควรมีการกำหนดเส้นทางการพัฒนาลำดับขั้นของพนักงานอย่างชัดเจน มีการแนะนำทักษะที่ควรพัฒนา และเปิดโอกาสให้พนักงานได้แสดงศักยภาพเพื่อก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นในสายงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิต--ไทยth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานแผนกวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยานของสายการบินแอร์เอเชียในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 2019th_TH
dc.title.alternativeQuality of work life of engineer employees Thai Airasia during Covid 2019 pandemicth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) study the level of quality of work life of engineer employees at Thai Air Asia during Covid 2019 pandemic (2) compare quality of work life of engineer employees at Thai Air Asia during Covid 2019 pandemic, classified by personal factors, and (3) offer suggestions for improving the quality of work life of engineer employees Thai Air Asia during Covid 2019 pandemic. The population of this quantitative research was 721 engineer employees at Thai Air Asia. A sample size was determined by using Taro Yamane method. The 260 samples were obtained by using systematic sampling method. A questionnaire was used as a tool to collect data. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and analysis of variance. The study findings that: (1) the level of quality of life at work in all 7 aspects was at a high level (2) the comparison of the quality of work life of employees, classified by personal factors, revealed that employees with different genders, status, job positions and average monthly incomes had different quality of working life, with a statistical significance at 0.05 level, and (3) the suggestions for improving the quality of work life were welfare and compensation management, that is to say, the benefits, medical expenses for employees and other aspects should be reconsidered in the current economic situation. As for work safety, enough safety equipment should be prepared and were ready to be used for employees, including health administration during Covid 2019 pandemic. On supporting and improving knowledge and skill of employees, the career path platform should be designed for self-study. On supporting advancement and security in career path of employees, there should be clear steps of improvement, including suggestions on skills that should be improved and give opportunity to employees to show their potential to move to higher positions in their line of worken_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166539.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons