Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8383
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์th_TH
dc.contributor.authorสุวรรณา เอื้อปฏิภาน, 2499-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T03:10:22Z-
dc.date.available2023-08-03T03:10:22Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8383en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน ในเครือ บริษัท มติชน จำกัด (มหาชน) (2) เปรียบเทียบความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานในเครือ บริษัท มติชน จำกัด (มหาชน) จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหาอุปสรรค และเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในเครือ บริษัท มติชน จำกัด (มหาชน)กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการในเครือ บริษัท มติชนจำกัด (มหาชน) จำนวน 300 คนได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานในเครือ บริษัท มติชน จำกัด (มหาชน) โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานทั้ง 12 ด้านพบว่า พนักงานมีความพึงพอใจในระดับมากอยู่ 9 ด้าน เรียงตามลำดับดังนี้ความมั่นคงในงาน ความสัมพนธ์กับเพื่อนร่วมงาน ความรับผิดชอบ นโยบายและการบริหารงานของบริษัท ความสำเร็จของงาน ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานการได้รับการยอมรับนับถือ และลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ส่วนอีก 3 ด้านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง คือ ความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน เงินเดือนและสวัสดิการ และโอกาสที่จะได้รับความก้าวหน้าในอนาคต เมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการปฏิบัติงานจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า พนักงานที่มี เพศ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา และอัตราเงินเดือนที่ต่างกันมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มี อายุหน่วยงานที่สังกัด บริษัทที่สังกัด และอายุงาน ที่ต่างกันมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริษัทมติชน--พนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานในเครือบริษัทมติชน จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeJob satisfaction of employees in Matichon Public Company, Limited Groupen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the job satisfaction of the employees in Matichon Public Company, Limited Group (2) to compare the job satisfaction of the employees in Matichon Public Company, Limited Group classified by personal factors (3) to find out problems and obstacles as well as to suggest the guideline contributing to job satisfaction and increasing work efficiency of the employees in Matichon Public Company, Limited Group. The sample of this research were 300 operation employees of Matichon Public Company, Limited Group who were selected through stratified random sampling. Data were collected with questionnaire. The study found that the overall job satisfaction of the employees in Matichon Public Company, Limited Group was at the high level. When considering in all affect factors, there were nine factors that revealed high level namely; work security, colleagues relationship, responsibility, policy and administration, achievement, relationship with supervisors, work environment, recognition and work characteristic. The other three factors revealed moderate satisfaction were advancement, salary and welfare and opportunity of growth. The comparison of job satisfaction classified by personal factors was found that the employees who had different sex, marital status, education level and salary rating were not different in job satisfaction whereas the employees who had different age, division of work, belonging company and work years were found to be statistical significant difference in job satisfaction at the 0.05 levelen_US
dc.contributor.coadvisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศth_TH
dc.contributor.coadvisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100905.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons