Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8387
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีปth_TH
dc.contributor.authorนิตยา คล้ายใสth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T03:48:12Z-
dc.date.available2023-08-03T03:48:12Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8387en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานที่ดินจังหวัด ลำปาง สาขาสบปราบ ทางด้านการเงิน ด้านผู้รับบริการ ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และพัฒนา (2) ศึกษาปัญหาการดำเนินงานของสำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาสบปราบ และ (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานของสำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาสบปราบ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรประกอบด้วยผู้รับบริการที่มารับบริการใน สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาสบปราบ เฉลี่ยต่อเดือนจำนวน 600 ราย คำนวณตามสูตรทาโร่ ยามาเน่ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 240 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และประชากรซึ่งเป็นข้าราชการของสำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาสบปราบ จำนวน 10 ราย เครื่องมือเก็บข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการศึกษาพบว่า (1) การประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาสบปราบ ด้านการเงิน ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2557- 2559 มีการจัดเก็บและนำส่งเงินรายได้ และมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานเพิ่มขึ้นทุกปีงบประมาณ ด้านผู้รับบริการพบว่าผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของสำนักงานฯ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านกระบวนการภายในพบว่าบุคลากรทุกฝ่ายเห็นว่ากระบวนการภายในที่ได้ประเมินผลนั้นมีความเหมาะสมทั้งขั้นตอน ระยะเวลา และมีคุณภาพ ด้านการเรียนรู้และด้านการพัฒนาพบว่า บุคลากรยังไม่ได้รับการสนับสนุนด้านการเรียนรู้และพัฒนาอย่างเพียงพอ(2) ปัญหาที่สำคัญคือ งบประมาณในการดำเนินงานไม่เพียงพอต่อการปรับปรุงการให้บริการ ปัญหาขาดการพัฒนาบุคลากรพื่อการปฏิบัติงาน และการใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน ปัญหาด้านสถานที่การให้บริการต่างๆ และ (3) แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานทั้งสี่ด้านของสำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาสบปราบคือ ควรขอจัดสรรเงินงบประมาณเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานจากสำนักงานที่ดินจังหวัดลำปางเพิ่มขึ้น ควรให้ความสำคัญต่อการจัดสถานที่และบริการให้มีความสะดวก สบาย และปลอดภัยต่อผู้รับบริการ ควรบริหารกรอบอัตรากำลังของบุคลากร ควรส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี รวมถึง กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาสบปราบ--การประเมิน.--ไทย--ลำปางth_TH
dc.subjectการประเมินผลงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาสบปราบth_TH
dc.title.alternativePerformance evaluation of Lampang Provincial Land Office, Sop Prap Branchen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to evaluate the performance of Lampang ProvincialL and Office, Sop Prap Branch on financial, recipient, internal process and development and growth; (2) to study problems of the performance of Lampang Provincial Land Office, Sop Prap Branch; and (3) to study development guidelines of the performance of Lampang Provincial Land Office, Sop Prap Branch. This research was a survey research. Population comprised of recipients from Lampang Provincial Land Office, Sop Prap Branch per month equaled to 600 persons, when it was calculated by Taro Yamane formula, the sample size derived to 240 sample. Research instrument was a questionnaire. And another population group, there were 10 officials of Lampang Provincial Land Office, Sop Prap Branch. Research instrument was an interview form. Statistics used for data analysis were frequency, percentage and standard deviation and content analysis. The finding revealed that: (1) performance evaluation of Lampang Provincial Land Office, Sop Prap Branch in terms of financial aspect from the fiscal year 2014 to 2016 showed revenue collection, sent money and expenditures increasingly every fiscal year. Recipient aspect, it showed an overall image of satisfaction toward the performance of Lampang Provincial Land Office, Sop Prap Branch at the highest level. Internal process aspect, it showed that the process was appropriate not only procedure, period of time but also the quality. Development and growth aspect, it showed the insufficiency of learning and developing support; (2) major problems were insufficient budget allocation for services, lack of personnel and human resource development, lack of technological training and location improvement; and (3) development guidelines were there should propose for budget increasing for performance improvement, gave importance to location creative facilities and safe for service recipients, recruit and administrate manpower as well as promote and develop the personnel to be skilled, technological workers and understand regulations for work.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155960.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons