Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8392
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกาญจนา น้อยประเสริฐ, 2494--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T06:01:18Z-
dc.date.available2023-08-03T06:01:18Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8392-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของข้าราชการสำนักงานประกันสังคม ส่วนกลางที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานประกันสังคม (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของ ข้าราชการสำนักงานประกันสังคมส่วนกลางที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานประกันสังคม จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของข้าราชการสำนักงาน ประกันสังคมส่วนกลางที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานประกันสังคมส่วนกลาง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นข้าราชการสำนักงาน ประกันสังคมส่วนกลางจำนวน 248 คน จากประชากรทั้งสิ้น 652 คน โดยใช้วิธี การสุ่มตัวอย่างแบบหลาย ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การเปรียบเทียบพหุคูณด้วย วิธี การของ เชฟเฟ่ และการวิเคราะห์เนี้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นของข้าราชการสำนักงานประกันสังคมส่วนกลางที่มี ต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใน 4 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบว่า ระดับ ความคิดเห็นด้านกลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อยู่ในระดับมาก รองลงมาได้แก่ด้านนโยบายการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ ด้านวิสัยทัศน์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และด้านยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อยู่ในระดับปานกลางตามลำดับ (2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็น จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ สายงานและระดับ ตำแหน่ง หน่วยงานที่สังกัด และอายุงานในสำนักงานประกันสังคมที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่วนความคิดเห็นในด้านกลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และด้าน ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เฉพาะระดับ การศึกษา และพบว่าจำนวนครั้งที่ได้รับการพัฒนาที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นในด้านนโยบายการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์แตกต่างกัน (3) ผลการศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของข้าราชการสำนักงาน ประกันสังคมส่วนกลางที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานประกันสังคมส่วนกลาง คือ ควรส่งเสริมระบบพัฒนาตามสมรรถนะหลักในแต่ละสายงาน ควรสร้างระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ภายหลังการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ สร้างจิตสำนึกในการให้บริการรวมทั้งจริยธรรมและคุณธรรมสร้างขวัญ กำลังใจให้แก่บุคลากรและควรมีระบบการพัฒนาที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org10.14457/STOU.the.2006.175en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานประกันสังคมส่วนกลาง -- ข้าราชการ -- ทัศนคติth_TH
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th_TH
dc.titleความคิดเห็นของข้าราชการสำนักงานประกันสังคมส่วนกลางที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ =th_TH
dc.title.alternativeCentral Area Social Security Officer's opinion on human resource developmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (I) to study opinions among Social Security Officers in the Central Area on Human Resource Development (HRD) in Social Security Office (SSO); (2) to compare the Central Area Social Security Officers’ opinions based on individual background; (3) to study problems, obstacles and recommendations of the Central Area Social Security Officers on Human Resource Development. This was a survey research and the sample was selected by using the multi-stage random sampling to draw 248 subjects from the total population of 652 officers in the Central Area of Social Security Office. The questionnaire was used as the research tool. Statistics used for research data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA and multiple comparison by the Scheffe’s Method. The results of this research were shown as followed : (1) most of the Central Area Social Security Officers’ opinions towards four aspects of Human Resource Development were in middle level. Considering to each aspect, the opinion on Human Resource Development Strategy was in high level. The others aspects of HRD Policy, HRD Vision and HRD Strategic Plan were in middle level respectively. (2) The result of opinion comparison based on personal data, showed that there was no difference between gender, age, organization rank and level, working position, workplace and experience. The different background of education indicated the different opinion under the different aspect of strategy and strategic plan significantly at the .05 level and it was found that the different number of HRD had an effect in the different opinion on policy aspect of HRD. (3) The result of studying problems, obstacles and recommendations of the Central Area Social Security Officers on HRD were made in order to enhance core competency in each position. Operational assessment was recommended after developing of individual efficiency. Service minded awareness, moral and ethics, including morale should be enhanced among the personnel in SSO. The same standardization of Human Resource Development system should be applied to all Social Security Officers nationwideen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100911.pdfเอสารฉบับเต็ม5.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons