Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8404
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยาณี กิตติจิตต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอรชร โพธิสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดำรงค์ โรจนเมธินทร์, 2496--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T08:02:50Z-
dc.date.available2023-08-03T08:02:50Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8404-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพของกิจการอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (2) ศึกษาปัญหาภาษีอากรและแนวทางแก้ไขของ กิจการอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนภายใต้พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการลงทุน พ.ศ.2520 หมวด 5 อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่มกิจการ กิจการผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า กิจการผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์กิจการผลิตภัณฑ์ ซอฟค์แวร์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ เกี่ยวกับสภาพและปัญหาภาษีอากรของกิจการที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและมีการทดสอบความเชื่อมั่นแล้วมี ค่าเท่ากับ 0.7280 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ การแจกแจงความถี่ 2 ทาง และการวิเคราะห์เนื้อหาสาระ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า (1) กิจการส่วนใหญ่เป็นบริษัทจำกัดมีระยะเวลาในการดำเนินธุรกิจนับ ถึงปลายปี 2548 อยู่ระหว่าง 5-10 ปี เป็นกิจการขนาดเล็ก ซึ่งวัดได้จากทุนจะทะเบียนอยู่ระหว่าง 100 - 500 ล้านบาท สินทรัพย์อยู่ระหว่าง 500-1,000 ล้านบาทรายได้รวมอยู่ระหว่าง 100-500 ล้านบาท จำนวนพนักงานลูกจ้างอยู่ระหว่าง 1,001 - 1,500 คน มีถานที่ตั้งอยู่ในเขต 1 ในนิคมอุตสาหกรรม และได้รับใบรับรองมาตรฐาน IS09000 และมีโครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและยังคงสิทธิ ประโยชน์ 1-3 โครงการ ผู้ปฏิบัติส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อกำหนด เงื่อนไขของพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนและประมวลรับฎากร (2) โดยภาพรวมกิจการส่วน ใหญ่มีปัญหาภาษีอากร หากพิจารณาเป็นกลุ่ม พบว่า กลุ่มกิจการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและกลุ่มกิจการ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์จะมีปัญหาน้อยเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้นิติบุคคล ซึ่งกิจการ สามารถแก้ไขปรับปรุงได้ไม่มีผลทางกฎหมายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.159en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ -- ภาษีth_TH
dc.subjectธุรกิจของเอกชน -- ภาษีth_TH
dc.titleการศึกษาสภาพและปัญหาภาษีอากรของกิจการในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนth_TH
dc.title.alternativeStudy of state and tax problems of electronics and electric appliances manufacturing firm in conformity with virtue of the provisions of the investment promotionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study were: (1) to study state of electronics and electric appliances manufacturing firm in conformity with virtue of the provisions of the Investment Promotion (2) to study state of tax problems and compile a list of electronics and electric appliances manufacturing firm in conformity with virtue of the provisions of the Investment Promotion A sample of this research, representing the population of manufacturing firm in conformity with virtue of the provisions of the Investment Promotion Act B.E. 2520 Section 5: Electronic Industry and Electrical Appliance. It composed of 3 sections, i.e., Manufacture of electrical equipment. Manufacture of electronic products, Software and E-commcrce business. Tool to collect data comprised of state and tax problems Rating Scales questionnaires and pass a reliability statistics 0.7280 to equivalent. All data were analyzed using computer program, a ready-made easy to used tool, to calculate the percentage, frequency, crosstab and content analysis. Major research finding indicated (1) Majority firm incorporated as a small limited company. The company operated business from the past unit B.E. 2548 in between 5-10 years and the size design by share capital in amount of Baht 100 - 500 million, total assets in amounts of Baht 500 - 1,000 million, total income in amounts of 100- 500 million, the number of employees in 1,001 - 1,500 persons. The Company located at zone 1 in the Industrial Estate Area and obtains IS09000 certification. The Company was granted certain promotional privileges 1 - 3 project. Performer can not pass the knowledge test in rule and condition of the Investment Promotion Act and Revenue Code. (2) Over all in the mentioned which the majority did not have a tax problems. If the mentioned by group finding concerned to Value Added Tax, Added Tax, Tax on net corporate profit and cause in minor case to Manufacture of electrical equipment, Manufacture of electronic products and unaffected to legal measuresen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100916.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons