Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8409
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรสคนธ์ รัตนเสริมพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนราธิป ศรีราม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสำเนียง สิมมาวัน, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-04T00:34:04Z-
dc.date.available2023-08-04T00:34:04Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8409-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัย ครั้งนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความก้าวหน้าในการถ่ายโอนอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) ศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาในการถ่ายโอนอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) เพื่อแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาในการถ่ายโอนอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยประกอบด้วยองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ขนาดละ 1 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสำรวจ แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกภาคสนาม และแบบโครงสร้างการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงพรรณนา การวิเคราะห์เนื้อหา และการวิเคราะห์สรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า (1) องค์การบริหารส่วนตำบลรับโอนภารกิจมาน้อยกว่าจำนวน ภารกิจที่ได้มีการโอนถ่ายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดปัญหาในการ จัดบริการสาธารณะ (2) สาเหตุหลักของปัญหาในการถ่ายโอนอำนาจเกิดจากความเข้าใจที่ คลาดเคลื่อน อันเป็นผลมาจากความไม่ชัดเจนในการถ่ายโอน นอกจากนั้น ยังมีปัญหาในด้านการ บริหารจัดการด้านบุคลากรและด้านงบประมาณ (3) แนวทางแก้ไขปัญหาในการถ่ายโอนอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ การทำความเข้าใจให้ชัดเจนในเรื่องภารกิจที่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดนโยบายและแผนในการรองรับภารกิจถ่ายโอน อย่างชัดเจน รวมทั้งการถ่ายโอนบุคลากรและงบประมาณให้เหมาะสมและเพียงพอต่อการดำเนิน ภารกิจถ่ายโอนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.328en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล -- ไทย -- อุบลราชธานีth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจปกครอง -- ไทย -- อุบลราชธานีth_TH
dc.titleการถ่ายโอนอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeAuthorities transferring to local government organizations : a case study of Subdistrict Administrative Organizative in Ubon Ratchathani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) study the progress of authority transfer to local administrative organizations (2) study problems and causes of problems in authority transferring to local administrative organizations (3) search for appropriate approaches to solve the problems. The samples consisted of 3 Subdistrict Administrative Organizations (SAOs) in large, middle and small sizes. The instruments used were survey form, interview form, observation form and focus group structure. Data were analyzed by using descriptive analysis, content analysis and inductive analysis. The study revealed that (1) The SAOs received transferred tasks much less than the total tasks transferred by central and provincial administrations and caused problems in public services. (2) The main cause of these problems was misunderstanding on the matter of tasks transferring among organizations. Moreover, there were problems of administration, human resources and budget. (3) The recommended approaches to solve the problems were to a clear understanding about the authority transfer between central, provincial and local organizations soulb be make; settle policies and plans to support the authorities transfer; transfer proper and adequate amount of officials and budget to manage the transferred tasksen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100923.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons