Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8412
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ดวงหทัย ปิ่นเย็น, 2505- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-04T01:59:21Z | - |
dc.date.available | 2023-08-04T01:59:21Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8412 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่อง คุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรเทศบาทเมืองกาฬสินธ์ มี วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตและการทำงานของบุคลากรเทศบาล เมืองกาฬสินธ์ ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านบริหาร ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม วิธีการดำเนินการวิจัยจะใช้ประชากรกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากร เทศบาลเมืองกาฬสินธ์ จำนวน 578 คน ในการเก็บข้อมูลผู้ศึกษาได้จัดทำแบบสอบถามให้กับกลุ่ม ตัวอย่าง จากนั้นได้นำกลับมาวิเคราะห์ทางสถิติ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน โดยใชั t-test และการ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 140 คน มีอายุ 30-40 ปี มีสถานภาพสมรส 138 คน มีระดับการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 155 คน มีอายุราชการ 5-10 ปี มีตำแหน่งงานในปัจจุบันเป็นผู้ปฏิบัติงาน 190 คน และมีรายได้ต่อเดือน 10,001 - 15,000 บาท คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรเทศบาลเมืองกาฬสินธ์ โดยรวมอยู่ใน ระดับสูง ซึ่งปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ทำให้คุณภาพชีวิตการทำงานโดยรวมไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติทึ่ระดับ .05 จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ คือ ควรวางระบบการประเมินผลงานเพื่อใช้ใน การพิจารณาเลื่อนตำแหน่ง การพิจารณาความดีความชอบที่ชัดเจน เพื่อให้บุคลากรเทศบาลเมือง กาฬสินธ์ ที่ทำงานมีขวัญและกำลงใจในการปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้นและควรมีการพัฒนาและการอบรม ให้บุคลากรมีความรู้ในองค์การใหม่ ๆ เพื่อที่จะได้นำมาพัฒนางานของตนเองได้ นอกจากนี้ควรเปิด โอกาสให้บุคลากรในระดับล่างได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและให้มีส่วนร่วมในการวางแผนงาน ต่าง ๆ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.341 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ -- พนักงาน | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน -- ไทย -- กาฬสินธุ์ | th_TH |
dc.title | คุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Quality of work life of the personnels of Karasin Municipality | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to investigate the quality of work life in the municipality of Karasin and were to study the factors which contribute to the quality of work life of municipality personnel. These factors consisted of personel aspects, the administration aspects, and the environmental aspects. The population of this research was 578 persons who worked in the municipality of Karasin. The statistical analysis was conducted by computer to find out percentage, standard deviation, t-test and one-way ANOVA. The research finding showed that most of the samples were female.Most of them were married and hold bachelor or equivalent degree. Their monthly salaries were 10,001- 15,000 bath in an average. The overall of quality of working life of the personnel of Karasin Municipality was in the high level. All of the three factors were at no differences significantly at the .05 level. Some suggestions are provided here for whoever has the authority to evaluate the performance of the personnels of Karasin municipality. A certain system of evaluation should be set in order to give them better promotions and to encourage them to work harder and more happily. Development and training courses should be organized to them to have new ideas to improve their works. Lower officers should be allowed to give their opinions and plan their works | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
100931.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License