Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8415
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปิยะฉัตร ปานรุ่ง, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-04T03:03:10Z-
dc.date.available2023-08-04T03:03:10Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8415en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์และทัศนคติต่อโรคเอดส์ของผู้ช่วยพยาบาล โรงพยาบาลแพทย์รังสิต และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์กับทัศนคติต่อโรคเอดส์ของผู้ช่วยพยาบาลโรงพยาบาลแพทย์รังสิต และ (3) เปรียบเทียบทัศนคติต่อโรคเอดส์ของผู้ช่วยพยาบาลโรงพยาบาลแพทย์รังสิต จำแนกตามปัจจัยชีวสังคม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ช่วยพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลแพทย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี จำนวน 110 คนซึ่งได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น แบบสอบถามจำนวน 3 ชุด ได้แก่ (1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป (2) แบบสอบถามความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคเอดส์และ (3) แบบสอบถามทัศนคติต่อผู้ดิดเชื้อเอดส์ มีความเที่ยงเท่ากับ .84 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความ แปรปรวน และ ค่าลัมประสิทธสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ช่วยพยาบาลโรงพยาบาลแพทย์รังสิตร้อยละ 66.36 มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์อยู่ในระดับมาก ผู้ช่วยพยาบาลโรงพยาบาลแพทย์รังสิตมีทัศนคติโดยรวมต่อโรค เอดส์ อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกในแต่ละองค์ประกอบของทัศนคติด้านความรู้สึกมีค่าเฉลี่ยมาก ที่สุด รองลงมาด้านความคิด และด้านพฤติกรรมมีค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง (2) ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ โรคเอดส์และทัศนคติโดยรวม และทัศนคติรายด้านไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 (3) ผู้ช่วยพยาบาลโรงพยาบาลแพทย์รังสิตที่มีอายุและประสบการณ์ทำงานแตกต่างกันมีทัศนคติ ต่อโรคเอดส์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนผู้ช่วยพยาบาลที่มีระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยโรคเอดส์ การอบรมหลักสูตรผู้ช่วยพยาบาล และการเข้าร่วมอบรม ประชุม สัมมนาเกี่ยวกับโรคเอดส์ต่างกันมีทัศนคติต่อโรคเอดส์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรคเอดส์--การพยาบาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.subjectผู้ช่วยพยาบาลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์กับทัศนคติต่อโรคเอดส์ของผู้ช่วยพยาบาล โรงพยาบาลแพทย์รังสิตth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between knowledge and understanding of AIDS and attitude toward AIDS of assistant nurses in Rungsit General Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study knowledge and understanding of AIDS as well as attitude toward AIDS of assistant nurses in Rungsit General Hospital; (2) to study the relationship of knowledge and understanding of AIDS with attitude toward AIDS of assistant nurses in Rungsit General Hospital; and (3) to compare attitudes towards AIDS of assistant nurses in Rungsit General Hospital, as classified by bio-social factors. The research sample consisted of 150 randomly selected assistant nurses in Rungsit General Hospital, Pathum Thani province. The employed data collecting instruments were three questionnaires: (1) a questionnaire on general information of the respondent; (2) a questionnaire on knowledge and understanding of AIDS; and (3) a questionnaire on attitude toward AIDS, with .84 reliability coefficient. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, analysis of variance, and Pearson’s correlation coefficient. Findings of the study showed that (1) the knowledge and understanding on AIDS of 66.36 per cent of assistant nurses in Rungsit Gneral Hospital was at the high level, while their overall attitude toward AIDS was at the moderate level; when individual components of attitude were considered, the feeling component received the highest rating mean, followed by the cognitive component and the behavioral component, respectively, which received the rating mean at the moderate level; (2) the overall knowledge and understanding of AIDS did not have significant correlation, at the .01 level, with the overall and each component of attitude toward AIDS; and (3) assistant nurses in Rungsit General Hospital with different ages and work experiences differed significantly in their attitudes toward AIDS at the .05 level; while assistant nurses with different educational levels, work experiences in taking care of AIDS patients, frequencies of undergoing the assistant nurse training programs, and frequencies of participation in conference, training and seminar on AIDS did not significantly differ in their attitudes toward AIDS at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_140190.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons