Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8416
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | พิชชาภา ปานใจ, 2509- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-04T03:21:20Z | - |
dc.date.available | 2023-08-04T03:21:20Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8416 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจูงใจที่มีผล ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของคนวัยทำงานในพื้นที่เขตปทุมวัน (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจูงใจภายในปัจจัยจูงใจกับภายนอกที่ร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมการออกกำลังกายของคนวัยทำงานในพื้นที่เขตปทุมวัน และ (3) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของคนวัยทำงานในพื้นที่เขตปทุมวัน กลุ่มตัวอย่างเป็นคนวัยทำงานที่อาศัย ทำงาน หรือมาออกกำลังกายในพื้นที่เขตปทุมวัน ชายหรือหญิงอายุ 15-59 ปี จำนวน 54,996 คน นำมาสุ่มแบบชั้นภูมิโดยใช้สูตรของยามาเน่ได้ขนาด ตัวอย่าง 400 คน และสุ่มอีกครั้งโดยแบ่งประชากรออกเป็น 4 กลุ่มตามแขวงในเขตปทุมวันแขวงละ 100 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยง .89 ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ (1) ข้อมูลทั่วไป (2) ปัจจัยจูงใจภายในและปัจจัยจูงใจภายนอก และ (3) พฤติกรรมการออกกำลังกายสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาค่าสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ทดสอบสมมติฐานที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยจูงใจภายใน ปัจจัยจูงใจภายนอกมีผลต่อพฤติกรรม การออกกำลังกายของคนวัยทำงานในพื้นที่เขตปทุมวันแตกต่างกัน (2) ตัวแปรอิสระทั้งสี่ (Xp x2, Zj,Z2) ร่วมกันมีผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายตามความบ่อย ความหนัก ความนาน และชนิด (¥1, ¥2, ¥3, ¥4) ของคนวัยทำงานในเขตพื้นที่ปทุมวัน และ (3) ปัจจัยส่วนบุคคลจำแนกตามเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาสูงสุดอาชีพ และอาชีพเสริมไม่ส่งผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของคนวัยทำงานเขตพื้นที่ปทุมวัน ยกเว้นอายุและอาชีพเสริมส่งผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายด้านชนิด กล่าวคืออายุและอาชีพเสริมมีผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายด้านการเลือกชนิดการออกกำลังกาย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจูงใจและพฤติกรรมการออกกำลังกายของคนวัยทำงานในพื้นที่เขตปทุมวัน | th_TH |
dc.title.alternative | The relationship between motivation factors and exercise behaviors of working age people in Pathumwan District | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: (1) to study the relationship between motivation factors and exercise behaviors of working age people in Pathumwan District; (2) to study the relationship between intrinsic and extrinsic motives that together predict exercise behaviors of working age people in Pathumwan District; and (3) to compare personal factors affecting exercise behaviors of working age people in Pathumwan District. The research sample consisted of 400 working age people in Pathumwan District which were obtained by stratified random sampling from the district population of 54,996 males or females, aged 15 - 59 years. The sample size was determined based on Yamane’s formula. Then the sample was randomly divided into four groups based on the four sub-districts, each of which consisted of 100 people. The employed research instrument was a questionnaire with reliability coefficient of .89 and composed of three parts: (1) general information; (2) intrinsic and extrinsic motive factors; and (3) exercise behaviors. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. Significance level for hypothesis testing was predetermined at the .05 level. Research findings revealed that (1) intrinsic and extrinsic motive factors had different levels of impact on exercise behaviors of working age people in Pathumwan District; (2) the four intrinsic (X1, X2) and extrinsic (Z1, Z2) factors together can affect exercise behaviors in the aspects of frequency (Y1), intensity (Y2), longevity (Y3), and category (Y4) of exercise behaviors of working age people; and (3) personal factors (gender, age, marital status, educational level, career, and extra job) did not have an impact on exercise behaviors of working age people in Pathumwan District, with the exception of the age and extra job factors which had an impact on the selection of category of exercise behaviors. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_140191.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License