Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/842
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ปิ่นเฉลียว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทิพย์ฆัมพร เกษโกมล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุดาสินี สุทธิฤทธิ์, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T07:15:40Z-
dc.date.available2022-08-20T07:15:40Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/842-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการกํากับตนเองร่วมกับแอพพลิเคชัน่ไลน์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการออกกำลังกาย ดัชนีมวลกาย และเส้นรอบเอวของอาสา สมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านที่มีนํ้าหนักเกินมาตรฐาน ตําบลท่าโรงช้าง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านที่มีนํ้าหนักเกินมาตรฐานที่ปฏิบัติงานในเครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลท่าโรงช้าง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จํานวน 48 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่ม อย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 24 คน เครื่องมือการวิจัยได้แก่1) โปรแกรมการ กำกับตนเองร่วมกับแอพพลิเคชั่นไลน์ โดยประยุกต์ใช้แนวคิดการกำกับตนเองของแคนเฟอร์ (1980) ประกอบด้วย แผนการสอน คู่มือการปฏิบัติตัวสําหรับผู้ที่มีนํ้าหนักเกินมาตรฐาน และสมุดบันทึกการ กำกับตนเอง และ 2) แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และพฤติกรรมการออกกำลังกาย มีค่าความเที่ยงเท่ากบ .86 และ .90 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการออกกำลังกายของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านหลังเข้าร่วมโปรแกรมดีกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและดีกวากลุ่มควบคุมอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนดัชนีมวลกายและเส้นรอบเอวของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านหลังเข้าร่วมโปรแกรมน้อยกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. --แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติขุมชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการออกกำลังกาย--พฤติกรรม.--ไทยth_TH
dc.subjectน้ำหนักและการวัดth_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุข--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.titleประสิทธิ์ผลของโปรแกรมกำกับตนเองร่วมกันแอพพลิเคชั่นไลน์ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน ตำบลท่าโรงช้าง จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effectiveness of a self-regulation program with the line application for overweight health volunteers, Tharongchang District, Surat Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research were to study the effects of a Self Regulation Program with Line Application on food consumption behavior, exercise behavior, body mass index and waist circumference of Overweight Health Volunteers at Tharongchang District, Surat Thani Province. The sample were 48 Health Volunteers who working at Tharongchang District, Surat Thani Province, and were selected by the simple random sampling technique, and they were divided into the experimental (24) and the control (24). The research instruments include: 1) the self regulation program which developed based on the self regulation concepts of Kanfer (1980), consisting of a lesson plan, a handbook of overweight health volunteers and self regulation record form and 2) The food consumption behavior and exercise behavior questionnaires, and the reliabilities of these two questionnaires were .86 and .90 respectively. Data were analyzed by using descriptive statistics and t-test. The result revealed as follows. After attending the program, food consumption behavior, exercise behavior were significantly better than before attending the program, as well as these result were better than the control group (p<.05). Also, body mass index and waist circumference of experimental group were significantly less than before attending the program, as well a these result were significantly less than the control group (p<.05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 157800.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons