Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา พลอยเพชร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิตยา พลอยเพชร, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-04T07:35:09Z-
dc.date.available2023-08-04T07:35:09Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8441en_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) ระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การของบุคลากร โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) (2) ระดับความผูกพันในองค์การของบุคลากร โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) (3) เปรียบเทียบความผูกพันในองค์การจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลในองค์การของบุคลากรโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) (4) ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับระดับความผูกพันในองค์การของบุคลากร โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากรโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) จำนวน 1,213 คน ใช้การคำนวณกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางของเครซี่และมอร์แกนได้จำนวน 297 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานได้แก่ ด้วยการทคสอบค่าที ค่าเอฟ เมื่อพบความแตกต่าง จึงนำมาเปรียบเทียบรายคู่ด้วยการทดสอบผลต่างนัขสำคัญน้อยที่สุดด้วยเชพเฟ และการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการประเมินผลงานอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาค้านการวางแผนและสรรหากัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ และน้อยที่สุดคือด้านการจัดการค่าตอบแทน (2) ระดับความผูกพันในองค์การภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความผูกพันด้านความรู้สึก อยู่ในระดับมาก รองลงมาด้านความผูกพันด้านบรรทัดฐาน และน้อยที่สุดด้านความต่อเนื่อง(3) เพศ ระดับการศึกษา และตำแหน่งงานที่แตกต่างกันมีความผูกพันในองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยค้านอายุและระยะเวลาปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน มีระดับความผูกพันในองค์การไม่แตกต่างกัน (41) ระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์มีความสัมพันธ์กับระดับความผูกพันในองค์การไปในทิศทางบวกและอยู่ในระดับน้อยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทรัพยากรมนุษย์--การจัดการth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับความผูกพันในองค์การของบุคลากรโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)th_TH
dc.title.alternativeRelationships between human resources management and organizational commitment of employees at Banphaeo General Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aimed of this research were (1) to study the level of the human resource management of Banphaeo General Hospital ( 2) to study the level of organizational commitment of employees of Banphaeo General Hospital (3) to study the organizational commitment of employees of Banphaeo General Hospital divided by personal factors, and (4) to study the relationship between human resource management and organizational commitment of employees of Banphaeo General Hospital. The population used in this research consisted of 1,213 employees in Banphaeo General Hospital. The samples were 297 samples calculated by Craigie and Morgan tables. The instrument used in collecting data was questionnaires. Data were analyzed by descriptive statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation and inferential statistics including Pearson's correlation coefficient. The research findings were as follows: (1) the overall level of human resource management was high. Considering each of the aspect, it showed that the performance appraisal was the highest and followed by recruitment and selection. The compensation management was the lowest. (2) the level of organizational commitment in the overall level is high. Considering each of the aspect, it showed that the affective commitment was high level followed by normative commitment while continuance commitment indicated the lowest level. (3) The employees with difference of sex, level of education and working position factors had the level of organizational commitment differently p=0.05 .In contrast , age and working period factors were no significant differences. (4) the correlation between human resource management and organizational commitment showed a mild level of positive relationship with statistical significance at the 0.01.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_161415.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons