Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8462
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสราวุธ วัฒนวิไลกุล, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-05T13:02:07Z-
dc.date.available2023-08-05T13:02:07Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8462-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเม็ง อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น (2) เพื่อ ศึกษาเปรียบเทียบ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเม็ง เภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ขอนแก่น จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน (3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเม็ง อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเม็ง อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ทั้งหมด จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่และค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติทดสอบค่าที และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหาร ส่วนตำบลบ้านเม็ง อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง (2) การเปรียบเทียบความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเม็ง อำเภอ หนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ในภาพรวมและรายด้าน จำแนกตาม เพศ ระดับการศึกษา และ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ไม่มีความแตกต่างกัน ส่วนจำแนกตามอายุ พบว่า ในภาพรวม ไม่ ่มี ความแตกต่างกัน สำหรับรายด้านพบว่า ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติและด้านความรับผิดชอบ มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเม็ง--พนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเม็ง อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeJob satisfaction of personnel in Banmeng Sub-District Administration Organization, Nong Ruea District Khon Kaen Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were: (1) to examine the level of job satisfaction of personnel in Banmeng Sub-District Administration Organization, Nong Ruea District, Khon Kaen Province (2) to compare the job satisfaction of personnel in Banmeng Subdistrict Administrative Organization, Nong Ruea District, Khon Kaen Province distinguished by gender, age, qualification, and work experiences (3) to study the opinions and suggestions on job satisfaction of personnel in Banmeng Sub-District Administration Organization, Nong Ruea District, Khon Kaen Province. The samples were 60 officials working in Banmeng Sub-District Administration Organization. The instrument used was questionnaire. Thereafter the data analysis employed frequency, percentage, mean and standard deviation. T-test and one-way ANOVA were used as a hypothesis testing. The results found that (1) the job satisfaction of personnel in Banmeng Subdistrict Administrative Organization appeared moderate (2) the comparison of job satisfaction of personnel in Banmeng Subdistrict Administrative Organization distinguished by gender, qualification and work experience in holistic view revealed no difference. Likewise, distinguished by age, the result appeared no difference. However, distinguished by aspects of jobs and responsibilities, the result showed statistically significant difference at 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_136154.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons