กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8475
ชื่อเรื่อง: ทัศนคติของพนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ที่มีต่อองค์การแห่งการเรียนรู้
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Attitude of Krung Thai Bank Public Company Limited employees toward learning organization
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษา
วันเพ็ญ บุญมาศ.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
ธนาธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติธนาคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติคารกรุงไทย--พนักงาน--ทัศนคติ
การเรียนรู้องค์การ
วันที่เผยแพร่: 2550
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับทัศนติของพนักงาน ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ที่มีต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ และ 2) เปรียบเทียบทัศนคติของ พนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ที่มีต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ จำแนกตามลักษณะส่วน บุคคล การศึกยาครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ พนักงานธนาดารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เฉพาะผู้ที่ปฏิบัติงานสังกัดกลุ่มปฏิบัติการธนาการในประเทศจำนวน 340 กน โดยการสุ่ม ตัวอย่างใช้วิธีการแบบชั้นภูมิได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 184 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test และ F-Test ผลการศึกษาพบว่า 1) พนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) มีทัศนคติต่อองค์การ แห่งการเรียนรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วย โดยสูงที่สุดอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง คือ ด้านการ มีวิสัยทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ และน้อยที่สุดอยู่ในระดับเห็นด้วย คือ ด้านการเรียนรู้ของ สมาชิกในองค์การ และ 2) พนักงานที่มีเพศ และตำแหน่งงานแตกต่างกันมีทัศนคติต่อองค์การแห่ง การเรียนรู้แตกต่างกันเฉพาะด้านระบบการคิดของคนในองค์การ โดยพนักงานเพศชายมีทัศนคติต่อ องค์การแห่งการเรียนรู้น้อยกว่าเพศหญิง และพนักงานที่มีตำแหน่งสูงกว่าหัวหน้าส่วนมีทัศนคติต่อ องค์การแห่งการเรียนรู้สูงที่สุด สำหรับพนักงานที่มีอายุ วุฒิการศึกษา อายุงาน และฝ่ายงานที่ แตกต่างกัน มีทัศนติต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ในทุกค้านไม่แตกต่างกัน
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8475
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
109293.pdf3.37 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons