Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/847
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์th_TH
dc.contributor.authorนันทวัน บุญอร่ามพงษ์, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T07:27:22Z-
dc.date.available2022-08-20T07:27:22Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/847-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยคุณลักษณะ ส่วนบุคคล ปัจจัยการบริหารงานคุณภาพ และปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กร (2) ระดับของผลการปฏิบัติงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (3) ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยที่ศึกษากับผลการปฏิบัติงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (4) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล ที่รับผิดชอบงานมะเร็งปากมดลูก ทั้งหมด 206 คน ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยง 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติเชิงอนุมาน โดยการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้รับผิดชอบงานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 39 ปี สถานภาพสมรสคู่ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญตรี มีรายได้เฉลี่ย 21,205 บาท อายุราชการเฉลี่ย 18 ปี และมีประสบการณ์การปฏิบัติงานเฉลี่ย 8 ปี ผู้รับผิดชอบงานมีความคิดเห็นต่อปัจจัยการบริหารงานคุณภาพอยู่ในระดับสูง ปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรอยู่ในระดับปานกลาง (2) ผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับต้องปรับปรุง (3) ปัจจัยการบริหารงานคุณภาพในภาพรวมและด้านการวางแผนงาน และปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กร มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ พบว่า มีผู้รับบริการน้อยและไม่มาตามนัด เพราะอายกลุ่มเป้าหมายบางส่วนทำงานอยู่นอกพื้นที่และอยู่ในโรงงาน โดยมีข้อเสนอแนะว่า ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์ เช่น โทรทัศน์ ส่วนปัญหาขาดเจ้าหน้าที่ งบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ ไม่เพียงพอ ควรสนับสนุนให้มีการทำงานเป็นทีมและเครือข่าย โดยมีแผนเชิงรุกทั้งในชุมชนและในโรงงาน และการจัดสรรงบประมาณสำหรับงานนี้โดยตรงและเพียงพอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.503-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปากมดลูก--มะเร็ง--การวินิจฉัยth_TH
dc.titleปัจจัยการบริหารงานคุณภาพและการสนับสนุนจากองค์กรกับผลการปฏิบัติงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeQuality management and organization support factors and the performance of cervical carcinoma screening of sub-district health officers in Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.503-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this cross-sectional survey research were to study; (1) personal characteristic factors including quality management factor and organizational support factor, (2) level of cervical cancer screening performance, (3) the relationship between these factors and cervical cancer screening performance, and (4) problems, obstacles, and suggestions in cervical cancer screening performance. The study population was 206 sub-district health officers who are responsible for cervical cancer screening performance in Phra Nakhon Si Ayuthaya. Data were collected by using questionnaires with its reliability of 0.89. Descriptive statistics: percentage, mean, standard deviation, and Inference statistics: Chi-square test were employed as statistical analyses. The findings revealed that (1) most officers who were responsible for cervical cancer screening performance were females, 39 years old on average, married, having bachelor degree . having 21,205 bath monthly income, having 18 years of a government official position, and having 8 years of working experience. Regarding to the administrative aspect, the officers rated the quality management at a high level, but the organizational support at a moderate level. (2) The officers rated their performance at a poor level. (3) Overall quality management factor and planning aspect, and organization support factors significantly related to the performance of cervical cancer screening at 0.05 level. (4) Small numbers of clients, clients canceling an appointment due to feeling embarrassed, and some target group working out of the service area or in factories considered problems. Suggestion includes emphasizing more public relation campaigns such as TV advertisement. Besides, due to lacking of officers, budget, and materials, it suggests to emphasize on team working and networking, implement active planning to community and factories, and allocate direct budget for a specific tasken_US
dc.contributor.coadvisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108827.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons