Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8481
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรสริน เชาว์ประจักษ์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-06T05:00:24Z-
dc.date.available2023-08-06T05:00:24Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8481-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง 2) ระดับ ความสำคัญของส่วนประสมการตลาดร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภคในเขตอำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น 3) พฤติกรรมการซื้อสินค้าจากร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภคในเขตอำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น และ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าจากร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภคในเขต อำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษาในครั้งนี้คือ ผู้ที่ใช้บริการและ/หรือ เคยใช้บริการร้านสะดวกซื้อในเขตอำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ที่ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้ความคลาดเคลื่อน 0.5 จึงใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูล แบบตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ และค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ได้แก่ สถิติไคส์แควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ ระหว่าง 15 -22 ปี มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี ซึ่งเป็นนักศึกษา/นักเรียน มีสถานภาพโสด โดยมีรายได้ ต่อเดือนระหว่าง 5,001-10,000 บาท ระดับความสำคัญของส่วนประสมการตลาดในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ระดับความสำคัญมากที่สุดคือ ด้านการจัดจำหน่าย ราคา และการส่งเสริมการตลาด ส่วนด้านผลิตภัณฑ์มีระดับความสำคัญมาก 3) พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคพบว่า ทำการซื้อจากร้านเซเวน่-อีเลฟเวน ประเภทสินค้าที่เลือกซื้อ คือ ไส้กรอก แฮมเบอร์เกอร์ ซาลาเปาโดนัท ขนมปัง ไอศกรีม ปัจจัยในการเลือกเข้าร้านสะดวกซื้อ คือ การเปิดบริการ 24 ชั่วโมง และอยู่ใกล้บ้าน ตราสินค้าที่เลือกซื้อ คือ ตราสินค้าที่มีการส่งเสริมการขาย เวลาการเดินทาง น้อยกว่า 15 นาที ใช้เวลาซื้อสินค้าอยู่ระหว่าง 10-30 นาที ช่วงระยะเวลาในการซื้อสินค้าระหว่าง 09.01-12.00 น.ความถี่ในการซื้อสินค้า มากกว่า 15 ครั้ง/เดือน มีค่าใช้จ่าย ระหว่าง 100-499 บาท/ครั้ง สื่อที่ได้รับข้อมูลข่าวสาร คือ การโฆษณาทางโทรทัศน์ โดยมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงร้าน คือ การจัดรายการพิเศษ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าจากร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภคพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อ ด้านระยะเวลาเฉลี่ยในการซื้อสินค้า และค่าใช้จ่ายในการซื้อ สินค้าแต่ละครั้งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการซื้อสินค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อสินค้าจากร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภคในเขตอำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeBuying behavior of consumer of convenience store in Ubonratana District, Khonkaen Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study the personal factors; (2) to study the important level of marketing mix for convenient store in Ubolratana district, Khon Kaen province; (3) to study the customers’ buying behavior at convenient store in Ubolratana district, Khon Kaen province; and (4) to study the relation of personal factors to customers’ buying behavior in Ubolratana district, Khon Kaen province. The study was a survey research. The infinite population was the customers used to buy goods at convenient store in Ubolratana district, Khon Kaen province. The sample was 400 customers selected by convenience sampling method with 0.5 error. The data was collected by using questionnaires and was analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and chi square. The results showed that (1) most informants were females, aged 15-22, bachelor degree, students, single, income per month 5,001-10,000 baht; (2) overall the marketing mix was at the highest level. Place, price and promotion were highest important and product was high important; (3) customers bought sausage, hamburger, steamed bun, donut, bread, ice cream from 7-Elevent because it was open 24 hours and was near accommodations. Customers spent less than 15 minutes to arrive here and spent around 10-30 minutes during 09.01a.m.-12.00 p.m. for shopping. They were shopping here more than 15 times per month and spent 100-499 baht each time. They received information from television advertising and recommended the special promotion for improving the shop; and (4) occupation related to average time and cost of each shoppingen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_143883.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons