Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีชา ศรีศักดิ์หิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริพร เกรียงไกรเพชร, 2497-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-06T05:12:07Z-
dc.date.available2023-08-06T05:12:07Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8483-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดกีาซ ธรรมชาติสำหรับยานยนต์ (NGV) (2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการคำเนินงานทางการตลาด วิธีการศึกษาในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ใช้ข้อมูลของบริษัท ปตท. จำกัค (มหาชน) มาเป็น กรณีศึกษา โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎีและกลยุทธ์ทางการตลาดของธุรกิงก๊าซธรรมชาติสำหรับ ยานยนต์ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติขภูมิ เช่น ข้อมูลบริษัท บทความ รายงานต่างๆ ที่เปีดเผยสู่สารารณะผ่านทางสื่ออิเล็ด โทรนิดและข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยการนำ ข้อมูลที่รวบร่วมได้มาวิเคราะห์ในเชิงคุณภาพและสรุปผลของการศึกษาได้ดังนี้ สรุปผลของการศึกษาพบว่า (1) บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) โดยให้ความสำคัญ รากาต่ำเป็นกลยุทธ์ในการดำเนินงาน ด้านกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ใช้พลังงานทดแทนในยานยนต์ให้ ผู้บริโภคมีทางเลือกใช้ ด้านกลยุทธ์การจัดจำหน่ายใช้สถานีบริการน้ำมันเป็นแหล่งในการจัด จำหน่ายให้กับผู้บริโภค และค้านกลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด ใช้การสื่อสารการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ร่วมกับหน่วยงาน สถาบัน และภาครัฐ ในการให้ประชาชนได้รับความรู้ข่าวสาร เพื่อหันมาใช้พลังงานก๊ซธรรมชาติสำหรับยานยนต์ทดแทนน้ำมันที่มีราคาเพิ่มขึ้น (2)ปัญหาและ อุปสรรคในการดำเนินงานทางการตลาด กลยุทธ์ทางการตลาดก๊ซธรรมชาติสำหรับยานยนต์ ของ บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) ต้องอาศัยปัจจัยสำคัญคือเงินลงทุน ในการก่อสร้างสถานีและการขน ส่งผ่านระบบท่อ หรือ บรรทุกใส่ถังที่มีปริมาณขนาดใหญ่ โดยการขนส่งด้วยรถยนต์ เพื่อให้บริการ ตามสถานีของปตท. นอกจากนี้ปัญหาและอุปสรรคสำคัญอีกด้านคือการบรรจุก๊ซลงถังให้กับยาน .ยนต์เพื่อใช้ในการเดินทางยังได้ปริมาณน้อย เนื่องจากถังที่จะบรรจุก็ซมีขนาดน้ำหนักมาก บรรจุ ได้จำนวนน้อย จึงไม่สะดวกในการเดินทางระยะไกล นอกจากนี้ด้านการประชาสัมพันธ์และการ สื่อสารผ่านโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และสื่ออื่นๆยังมีความถี่ไม่ต่อเนื่อง ทำให้ผู้บริโภค ตัดสินใจหันมาใช้พลังงานก๊ซธรรมชาติเป็นพลังงานทดแทนไม่มากนัก ถึงแม้ว่า ปตท. จะใช้กล ยุทธ์ราคาต่ำในการดำเนินงานด้านการตลาดก็ตามth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทปตทth_TH
dc.subjectก๊าซธรรมชาติในรถยนต์--การตลาดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleกลยุทธ์ทางการตลาดก๊าชธรรมชาติสำหรับยานยนต์ของบริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeNatural gas for vehicles (NGV) marketing strategies of PTT public company limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118605.pdf3.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons