Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8493
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปัทมา เกตุผ่อง, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-06T06:42:48Z-
dc.date.available2023-08-06T06:42:48Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8493-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคเขตกรุงเทพมหานคร (2) พฤติกรรมการรับบริการในไฮเปอร์มาร์เก็ต (3) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับบริการในไฮเปอร์มาร์เก็ต (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรมการรับบริการในไฮเปอร์มาร์เก็ต การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้บริโภคที่เข้ามารับบริการ ในไฮเปอร์มาร์เก็ต เขตกรุงเทพมหานคร จากประชากรจำนวน 8,098,000 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการคำนวณแบบสัดส่วนได้จำนวน 400 ราย ทำการเก็บตัวอย่างตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าไคว์สแควร์และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 21 - 30 ปี สถานภาพโสด อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน การศึกษาระดับปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,000 - 25,000 บาท (2) พฤติกรรมการรับบริการในไฮเปอร์มาร์เก็ตพบว่าส่่วนใหญ่มารับบริการมากกว่า 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ซื้อครั้งละ ไม่เกิน 2,115.41 บาท โดยซื้อสินค้าประเภทอุปโภคบริโภค และรับบริการด้านศูนย์อาหารเป็นหลัก ช่วงวันที่ เข้ารับบริการคือวันเสาร์ - อาทิตย์ (3) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมการรับบริการในไฮเปอร์มาร์เก็ตโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์อยู่ระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการ และด้านลักษณะทางกายภาพ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสม การตลาดกับพฤติกรรมการรับบริการในไฮเปอร์มาร์เก็ต พบว่า ด้านความถี่ในการเข้ารับบริการในไฮเปอร์มาร์เก็ต มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน กับปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านจำหน่าย ด้านกระบวนการ และด้านลักษณะ ทางกายภาพ ส่วนด้านค่าใช้จ่ายในการเข้ารับบริการมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับปัจจัยส่วนประสม การตลาดด้านการส่งเสริมการตลาด ลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ มีความสัมพันธ์ในระดับสูงมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectร้านค้าปลีกขนาดใหญ่--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับบริการของผู้บริโภคในไฮเปอร์มาร์เก็ต เขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors relationship to customer service behavior in Hypermarket in Bangkok Metropolis Areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) customer's personal factors of customers in Bangkok; (2) customer service behavior in hypermarket; (3) the significance level of marketing mix factors related to service behavior in hypermarket; and (4) the relationship between marketing mix factors and service behavior in hypermarket. This study was a survey research. The population was 8,098,000 customers who used the hypermarket service in Bangkok. The sample size was 400 people. The sampling method was determined by ratio calculating. Samples were collected by convenience sampling. Questionnaires were used as a tool for collecting data. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, standard deviation, inferential statistics including Chi Square and Spearman Rank. The study results show that (1) the customer's personal factors of majority respondents were females, age between 21-30 years old, single status, held Bachelor’s degree, and worked in private company with the average monthly income 15,000 – 25,000 Baht. (2) The service behavior in hypermarket of majority respondents were that using the service more than once a week, purchasing cost not over than 2,115.41 Baht per time, purchasing grocery products, using the service of food court and using the service between Saturday-Sunday. (3) The significance level of marketing mix factors related to service behavior in hypermarket was at a high level. When considering each part, it was found that the product was at the highest level, the next was price, distribution, marketing promotion, personnel, processes and the physical characteristics, respectively. (4) The relationship between marketing mix factors and service behavior in hypermarket was found that the frequency of using the hypermarket services related to the marketing mix factors in distribution, process and physical characteristics. However, the cost of the service related to the marketing mix factors in marketing promotion, physical characteristics, and process had the relationship at a high levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151892.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons