กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8513
ชื่อเรื่อง: ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัท เอ็น ไอ (ประเทศไทย) จำกัด
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Factors affecting the work motivation of personnel of N.I. (Thailand) Co., Ltd.
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษา
ศิริพร นพรัตน์, 2513-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
บริษัทเอ็นไอ (ประเทศไทย)--พนักงาน--ความพอใจในการทำงาน
การจูงใจ (จิตวิทยา)
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
การทำงาน--แง่จิตวิทยา
ความพอใจในการทำงาน
วันที่เผยแพร่: 2551
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของ พนักงาน บริษัท เอ็น ไอ (ประเทศไทย) จำกัด (2) เปรียบเทียบแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน บริษัท เอ็น ไอ (ประเทศไทย) จำกัด โคยจำแนกตามเพศ อายุ รายได้ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการ ทำงาน และ ระดับตำแหน่งงาน (3) เสนอแนะแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการทำงานของ พนักงานบริษัทเอ็น ไอ (ประเทศไทย) จำกัด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้แก่กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกบาคือพนักงาน บริษัท เอ็น ไอ (ประเทศไทย) จำกัดจำนวน 121 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า ร ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูลกระทำโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบื่ยงเบนมาตรฐาน และทคสอบสมมติฐานโดยใช้ค่ที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบทางเดียว (One way Anova)โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ .01 ผลการวิจัยพบว่า (1) ในภาพรวม พนักงานบริษัท เอ็น ไอ (ประเทศไทย) จำกัด ที่เป็น กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 121 คน มีแรงจูงใจในการทำงานระดับปานกลาง (2) เมื่อจำแนกตามเพศ อายุ รายได้ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน และระดับตำแหน่งงาน พบว่าเพศ และ ระยะเวลาการ ทำงาน ที่แตกต่างกัน ไม่มีมีผลต่อแรงจูงใจในการทำงาน (3) ผู้บริหารควรเสริมสร้างแรงจูงใจในการ ทำงาน ด้านเงินเดือนและสวัสดิการ โคยการปรับโครงสร้างเงินเดือนและสวัสดิการให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบันของบริษัทและสภาพเศรษฐกิจและควรสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างพนักงานกับ บริษัท โดยให้พนักงานได้รับข้อมูลน โยบายของบริษัทให้มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อการบริหารงาน
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8513
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
112787.pdf3.38 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons