Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8550
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | เมธี นิ่มนวล, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-07T08:35:03Z | - |
dc.date.available | 2023-08-07T08:35:03Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8550 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับของทัศนคติทางบวกต่อยาบ้าของผู้ต้องขัง คดีค้ายาบ้า (2) เปรียบเทียบทัศนคติทางบวกต่อยาบ้าของผู้ต้องขังคดีค้ายาบ้าในกลุ่มทดลองก่อน และหลังการให้การปรึกษาแบบวิเคราะห์ลักษณะบุคคลและองค์ประกอบ และ (3) เปรียบเทียบ ทัศนคติทางบวกต่อยาบ้าของผู้ต้องขังคดีค้ายาบ้าในกลุ่มทดลองหลังการให้การปรึกษาแบบวิเคราะห์ลักษณะบุคคลและองค์ประกอบและระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ต้องขังคดีค้ายาบ้าในเรือนจำกลางบางขวาง แดน 6 จำนวน 8 คน ได้ จากผู้ต้องขังคดีค้ายาบ้าจำนวน 62 คนซึ่งมีคะแนนจากการทำแบบสอบถามทัศนคติต่อยาบ้าตั้งแต่ เปอร์เซ็นต์ไทค์ที่ 75 ขึ้นไป และเต็มใจเข้าร่วมโปรแกรมการให้การปรึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบสอบถามทัศนคติต่อยาบ้าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .94 (2) โปรแกรมการให้การปรึกษาเป็นรายบุคคลตามทฤษฎีการให้การปรึกษาแบบวิเคราะห์ลักษณะ บุคคลและองค์ประกอบเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อยาบ้าของผู้ต้องขัง ส่วนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบแบบริลคอกซัน ผลการวิจัยที่พบ (1) ผู้ต้องขังคดีค้ายาบ้ามีมีค่าเฉลี่ยทัศนคติด้านความรู้เชิงประเมินค่า ต่อยาบ้าเท่ากับ 2.59 ด้านความรู้สึกต่อยาบ้าท่ากับ 2.60 และด้านแนวโน้มการแสดงออกต่อยาบ้า เท่ากับ 2.70 โดยมีทัศนคติทางบวกต่อยาบ้าโดยรวมอยู่ในระดับสูง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.66 (2) ผู้ต้องขังคดีค้ายาบ้าในกลุ่มทดลองมีทัศนคติทางบวกต่อยาบ้าหลังการทดลองน้อยกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ผู้ต้องขังคดีค้ายาบ้าในกลุ่มทดลองมีทัศนคติ ทางบวกต่อยาบ้าหลังการทดลองและระยะติดตามผลไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | นักโทษ--การให้คำปรึกษา | th_TH |
dc.title | การให้การปรึกษาเป็นรายบุคคลตามทฤษฎีการให้การปรึกษาแบบวิเคราะห์ลักษณะบุคคลและองค์ประกอบเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อยาบ้าของผู้ต้องขังคดีค้ายาบ้าในเรือนจำกลางบางขวาง | th_TH |
dc.title.alternative | The individual counseling based on the trait factor theory that changed the attitude of amphetamine of the amphetamine sellers who were prisoners in Bangkwang Central Prison | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was (1) to study the levels of positive attitude of amphetamine of the amphetamine sellers; (2) to compare positive attitude of amphetamine of the amphetamine sellers before and after receiving individual counseling based on the trait factor theory; (3) to compare positive attitude of amphetamine of the amphetamine sellers after receiving individual counseling based on the trait factor theory with the follow up period. The research sample totaling 62 amphetamine sellers controlled in jail 6 of Bangkwang Central Prison and 8 persons of experimental group were selected from a questionnaire on attitude of amphetamine scores upper than the 75th percentile.The study instruments were (1) a questionnaire on attitude of amphetamine with reliability test of .94 (2) an individual counseling program based on the trait factor theory for changing attitude of amphetamine of prisoners. The Percentage, Mean, Standard deviation and Wilcoxon match-pairs signed ranks test were employed for data analysis. The research finding showed that (1) the aspect means of Cognitive Component, Affective Component and Behavioral Component of amphetamine were 2.59, 2.60 and 2.70 respectively and the overall positive attitude of amphetamine was at the hight level with 2.66 of mean. (2) The positive attitude of amphetamine of the experimental group after receiving individual counseling based on the trait factor theory decreased significantly at the .05 level. (3) No significant difference was found on positive attitude of amphetamine of the experimental group after receiving individual counseling based on the trait factor theory with the follow up period. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_149984.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License