Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8552
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรชา วรรัตนวิวิช, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-07T08:50:21Z-
dc.date.available2023-08-07T08:50:21Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8552en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาฝึกงานตามสมรรถนะ 3 ด้าน (2) ศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อการบริหารจัดการฝึกงาน (3) เปรียบเทียบคุณลักษณะอันพึงประสงค์และความพึงพอใจจำแนกตามประเภทสถานประกอบการ ตำแหน่งหน้าที่ ขนาดและสาขาวิชาของนักศึกษาที่สถานประกอบการรับเข้าฝึกงาน (4) ศึกษาข้อเสนอการพัฒนาแนะคุณลักษณะอันพึงประสงค์และการบริหารจัดการฝึกงาน กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาฝึกงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ จำนวน 223 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยข้อคำถามทุกข้อมีค่าความตรงอยู่ระหว่าง 0.70 - 1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัย พบว่า (1) นักศึกษาฝึกงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ มีระดับคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.06 (2) สถานประกอบการพึงพอใจ การบริหารจัดการฝึกงานของวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ มีความพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.08 (3) ผลการเปรียบเทียบคุณลักษณะอันพึงประสงค์และความพึงพอใจจำแนกตามประเภทสถานประกอบการ ตำแหน่งหน้าที่การงาน ขนาดของสถานประกอบการ และสาขาวิชาที่สถานประกอบการรับนักศึกษาเข้าฝึกงาน ไม่แตกต่างกัน แต่นักศึกษาฝึกงานในสถานประกอบการเอกชนและรัฐบาล ประเมินโดยหัวหน้างานและผู้บริหาร พบว่านักศึกษาสาขาวิชาการตลาดและภาษาต่างประเทศมีคุณลักษณะที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 และผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจการบริหารชัดการฝึกงานจำแนกตามความสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน (4) ข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์นักศึกษาฝึกงานนักศึกษามีความสุภาพเรียบร้อยสามารถ ปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์กร เรียนรู้งานได้เร็ว ควรพัฒนานักศึกษาด้านความรับผิดชอบด้านความตรงต่อ เวลาความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศด้านการบริหารจัดการควรพัฒนาโดยปรับเปลี่ยนระยะเวลาฝึกงาน เพิ่มขึ้น และการควรส่งนักศึกษาเข้ารับการฝึกงานให้ตรงกับสาขางานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนักศึกษาฝึกงานth_TH
dc.subjectการฝึกงานth_TH
dc.titleคุณลักษณะที่พึงประสงค์นักศึกษาฝึกงานประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 และความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อการบริหารจัดการฝึกงานของวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์th_TH
dc.title.alternativeThe desirable characteristics with on-the-job traning of third year students in the vocational certificate program and satisfaction of entrepreneurs for administration of Santirat Vocational Education Collegeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบีณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) desirable characteristics of the performance training; (2) satisfaction of the establishment of the management training; (3)compare desirable and satisfaction by type of location, size disciplines; (4) education suggestions satisfaction of the establishment of the management training; The research sample consisted of 233 Third year Students in the Vocational Certificate Program of Santirat vocational College Interships in enterprises. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, One-way ANOVA Analysis. The result findings were as follows; (1) Third year Students in the Vocational Certificate Program of Santirat vocational was at a high level, with the rating mean of 4.06; (2) satisfaction of the establishment of the management training, with the rating mean of 4.08; (3) compare desirable and satisfaction by type of location, size disciplines happiness comparison results showed that the enterprises. With not different but training respects private property and private business differed significantly in desirable characteristics at the 0.05 level; (3) compare desirable and satisfaction by type of location, size disciplines with no different but training respects private property and private business, manager and supervisors, marketing and foreign languages differed significantly in desirable characteristics at the 0.05 level. compare desirable and satisfaction by type of location, size disciplines with no different. (4) education suggestions satisfaction of the establishment of the management training students with modesty learn faster. The resonance of the organization better. Negative feedback is irresponsible student. Punctuality and the use of foreign languages;en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_149996.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons