Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8554
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรฏวรรณ สมชัยมงคล, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-07T09:04:54Z-
dc.date.available2023-08-07T09:04:54Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8554en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความว้าเหว่ในผู้สูงอายุที่ได้รับ โปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่ม ในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และระยะติดตามผลการทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบลคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ที่มีระดับคะแนนความว้าเหว่ตั้งแต่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ขึ้นไป จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัคความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และ (2) โปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่ม ผู้สูงอายุในกลุ่มทดลองได้รับการปรึกษากลุ่ม จำนวน 7 ครั้ง ครั้งละ 1.30-2 ชั่วโมง ใช้เวลานาน 2 สัปดาห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบฟรีดแมน และการทดสอบวิลคอกซ้น ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุที่ได้รับการให้การปรึกษากลุ่มมีความว้าเหว่ในระยะหลัง การทดลองและระยะติดตามผลการทดลองต่ำกว่าระยะก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความว้าเหว่ในผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การให้คำปรึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลของการให้การปรึกษากลุ่มที่มีต่อความว้าเหว่ของผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชรth_TH
dc.title.alternativeThe effects of group counseling on loneliness of the elderly at Tumbol Khlonglan Health Promotion Hospital in Kamphaeng Phet Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare scores on the loneliness scale of the elderly who received group counseling in the pre-experiment, post-experiment, and follow-up phases. The research sample consisted of seven members of the Senior Citizen Club of Tumbol Khlonglan Health Promotion Hospital in Kamphaeng Phet Province, who had loneliness scores of the 50th percentile or more. The employed research instruments were (1) a loneliness assessment scale, with reliability coefficient of .97; and (2) a group counseling program. The elderly in the experimental group received group counseling for seven periods in two weeks, each period lasting from one and a half hours to two hours. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, median, interquartile range, Friedman Test, and Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks Test. Research findings revealed that the loneliness scores during the postexperimental phase and the follow-up phase of the elderly people who received group counseling were lower than their counterpart scores during the pre-experimental phase at the .05 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_151887.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons