Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8556
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่งth_TH
dc.contributor.authorสลิลดา ปิ่นสุวรรณ, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T00:52:34Z-
dc.date.available2023-08-08T00:52:34Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8556en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคลิกภาพ ค่านิยมในงาน บรรยากาศองค์การ และการรับรู้ความสำเร็จในอาชีพของพนักงานบริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และ (2) ศึกษาอำนาจพยากรณ์การรับรู้ความสำเร็จในอาชีพของพนักงานบริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) จากปัจจัยด้านบุคลิกภาพ ค่านิยมในงาน และบรรยากาศองค์การ รูปแบบการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานของ บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) จำนวนกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีของยามาเน่ 363 คน ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 5 ตอน คือ แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล แบบวัดบุคลิกภาพ แบบสอบถามค่านิยมในงาน แบบสอบถามบรรยากาศองค์การ และแบบสอบถามการรับรู้ความสำเร็จในอาชีพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ค่านิยมในงาน และบรรยากาศองค์การ กับการรับรู้ความสำเร็จในอาชีพพบว่าทุกคู่มีความสัมพันธ์ทางบวกโดยคู่ที่มีความสัมพันธ์กันสูงที่สุด คือ บรรยากาศองค์การมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความสำเร็จในอาชีพ .60 ค่านิยมในงานมีความสัมพันธ์กับ การรับรู้ความสำเร็จในอาชีพ .56 และบุคลิกภาพมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความสำเร็จในอาชีพ .30 ซึ่งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) อำนาจพยากรณ์การรับรู้ความสำเร็จในอาชีพของพนักงานจากปัจจัย บุคลิกภาพ ค่านิยมในงาน และบรรยากาศองค์การโดยภาพรวม พบว่าปัจจัยค่านิยมในงาน และบรรยากาศองค์การสามารถร่วมกันพยากรณ์การรับรู้ความสำเร็จในอาชีพมีได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยร่วมกันพยากรณ์ได้ร้อยละ 44.6 แต่ปัจจัยบุคลิกภาพโดยรวมไม่สามารถพยากรณ์ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อพิจารณารายด้านตัวแปรที่มีอำนาจในการพยากรณ์การรับรู้ความสำเร็จในอาชีพ ได้แก่ ค่านิยมภายในงาน บุคลิกภาพแบบเปิดตัว บุคลิกภาพแบบมีสติ บรรยากาศองค์การด้านเทคโนโลยีที่ใช้ในองค์การ บรรยากาศองค์การด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ บรรยากาศองค์การด้านการเอาใจใส่ต่อพนักงาน บรรยากาศองค์การด้านการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน และบรรยากาศองค์การด้านการสนับสนุน สามารถร่วมกันพยากรณ์การรับรู้ความสำเร็จในอาชีพของพนักงาน ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 49.3th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพนักงานบริษัทท่าอากาศยานไทย--พนักงานth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.subjectความสำเร็จทางธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยด้านบุคลิกภาพ ค่านิยมในงานและบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อการรับรู้ความสำเร็จในอาชีพของพนักงานบริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativePersonality, work value, and organizational climate as factors affecting perception of career success of Airport Authority of Thailand (Public) Co., Ltd. staffen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the relationships among the factors of personality, work value, organizational climate, and perception of career success of the staff of Airport Authority of Thailand (Public) Co., Ltd.; and (2) to study predictability of using personality, work value, and organizational climate as factors to predict perception of career success of the staff of Airport Authority of Thailand (Public) Co., Ltd. This study was a correlational research. The research sample consisted of 363 staff members of Airport Authority of Thailand (Public) Co., Ltd., obtained by multi-stage sampling. The sample size was determined based on Yamane’s method. The research instrument was a questionnaire composing of five parts, namely, questionnaire items on personal factors, a personality assessment scale, questionnaire items on work value, questionnaire items on organizational climate, and questionnaire items on perception of career success. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation, and multiple regression analysis. Research findings showed that (1) each and every factor of personality, work value, and organizational climate correlated positively and significantly at the .05 level with perception of career success, with the highest correlation of .60 being that between organizational climate and perception of career success, to be followed by the correlation of .56 between work value and perception of career success, and the correlation of .30 between personality and perception of career success, respectively; and (2) the factors of work value and organization climate could be combined to predict perception of career success significantly at the .05 level with predictability of 44.6 percent; while the personality factor as a whole could not significantly predict perception of career success; when aspect factors were also considered, it was found that the factors of intrinsic work value, open personality, conscientious personality, technological aspect of organizational climate, participatory aspect of organizational climate, concern for staff aspect of organizational climate, work motivation aspect of organizational climate, and staff support aspect of organizational climate could be combined to predict perception of career success of the staff significantly at the .05 level, with predictability of 49.3 percent.en_US
dc.contributor.coadvisorนิธิพัฒน์ เมฆขจรth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
132600.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons