Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8567
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เจริญศักดิ์ แสงฉัตรสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | พรพรรษา เกิดอนันต์, 2536- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-08T02:18:36Z | - |
dc.date.available | 2023-08-08T02:18:36Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8567 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงระดับความคิดเห็นของผู้ประกอบ การที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการใช้คิวอาร์โค้ดรับชำระค่าสินค้าในศูนย์การค้าเดอะแพลทินัมแฟชั่นมอลล์ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ประกอบการต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการใช้คิวอาร์โค้ดรับชำระค่าสินค้าโดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลการศึกษาเรื่อง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการใช้วอาร์โค้ดรับชำระค่าสินค้าของผู้ขายในศูนย์การค้าเดอะแพลทินัมแฟชั่นมอลล์ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยการแจกแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ขายสินค้าในศูนย์การค้าเดอะแพลทินัมแฟชั่นมอลล์ที่ทราบจำนวนแน่นอนโดยอ้างอิงจากข้อมูลของศูนย์การค้าฯ กำหนดขนาดตัวอย่างที่ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดย คำนวณจากสูตร ทาโร่ ยามาเน่ ได้ทั้งสิ้น 345 ร้าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์สถิติค่าทีและค่าเอฟ และการเปรียบเทียบเชิงพหุคูณแบบเปรียบเทียบผลต่างของค่าเฉลี่ยที่น้อยที่สุดผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ประกอบการมีความคิดเห็นในด้านของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดอยู่ในระดับมากทั้งด้าน (2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีเพสและอายุที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการใช้คิวอาร์โค้ด เพื่อรับชำระค่าสินค้าที่แตกต่างกัน เมื่อทำการทดสอบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ในส่วนของอายุพบว่ามีความแตกต่างกัน 3 คู่ คือ ระหว่างกลุ่มมีอายุต่ำกว่า20 ปีกับกลุ่มอายุ 20-27 ปี กลุ่มที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปีกับกลุ่มอายุ 36-43 ปีและกลุ่มที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี กับกลุ่มอายุ 44 ปีขึ้นไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านการส่งเสริมการตลาดไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | บริษัท เดอะ แพลทินัม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)--การตลาด | th_TH |
dc.subject | คิวอาร์โคด | th_TH |
dc.subject | การชำระเงิน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการใช้คิวอาร์โค้ดรับชำระค่าสินค้าของผู้ขายในศูนย์การค้าเดอะแพลทินัมแฟชั่นมอลล์ | th_TH |
dc.title.alternative | Marketing mix factors that affect the use of QR code to receive payment for goods of the sellers at the Platinum Fashion Mall | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was (1) to study the opinions of the sellers marketing mix factors that affect the use of QR code to receive payment for goods at the Platinum Fashion Mall. (2) to compare the opinions of entrepreneurs on the marketing mix factors that affect to use QR code to receive payment for goods classified by personal factors. The population was the entrepreneur at the Platinum Fashion Mall. Since the researcher can specify the exact number of population, the formula/table of Taro Yamane was applied with 95 percent confidence and 345 samples were obtained by convenience sampling method. A questionnaire was an instrument for collecting data. Data analysis used were descriptive statistics which including frequency, percentage, mean and standard deviation and inferential statistics which including t-test andF-test. The results showed that (1) The opinion of the respondents at the Platinum Fashion Mall. toward the marketing mix factors (4P) in over all were at high level (2) The respondents with different in sex and age had difference opinions on marketing mix factors in using QR code to receive payment for different products. Considered in an age aspect, it was found that there had the difference between the age group under 20 years and the age group 20-27 years; the group under the age of 20 years and the age group 36- 43 years old; and the age group under 20 and the group of 44 years old or more with statistical significance at the level of 0.05. Whereas there was no difference in marketing promotion aspect. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_161279.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License