Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8568
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณา ศิลปอาชา | th_TH |
dc.contributor.author | พิชญ์พันธ์ จีระพันธ์, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-08T02:27:45Z | - |
dc.date.available | 2023-08-08T02:27:45Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8568 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้บริโภคที่เคยซื้อชาสมุนไพรเห็ดหลินจืออบแห้ง (2 พฤติกรรมการเลือกซื้อชาสมุนไพรเห็ดหลินจืออบแห้ง (3) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดต่อการเลือกซื้อชาสมุนไพรเห็ดหลินจืออบแห้งและ (4) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อชาสมุนไพรเห็ดหลินจืออบแห้งของผู้บริโภคในเขตอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ประชาชนที่มีอายุ 20 ปี ขึ้นไป ในพื้นที่อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี และเคยซื้อชาสมุนไพรเห็ดหลินจืออบแห้ง กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน คำนวณได้จากสูตร ไม่ทราบขนาดประชากร ของคอแครน สุ่มตัวอย่างตามสะดวก ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติกพหุกลุ่มผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 41-60 ปี ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/ลูกจ้าง และมีรายได้ต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท (2) กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการเลือกซื้อชาสมุน ไพรเห็ดหลินจืออบแห้งเพื่อซื้อเป็นของฝากเหตุผลในการซื้อเพราะรักษาโรค ซื้อประเภทคอกบ่อยที่สุด เลือกไปซื้อที่ร้านค้าสะดวกซื้อซื้อเมื่อชาสมุนไพรเห็ดหลินจืออบแห้งหมด ในหนึ่งเดือนจะซื้อ 1 ห่อ มีค่าใช้ง่ายน้อยกว่า 400 บาท และได้รับข้อมูลในการซื้อจากผู้เชี่ยวชาญ (3) กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดต่อการเลือกซื้อชาสมุนไพรเห็ดหลินจืออบแห้งในระดับมากที่สุด และ (4) ผู้บริโภคในเขตอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี มีพฤติกรรมการเลือกซื้อชาสมุนไพรเห็ดหลินจืออบแห้งด้านสถานที่ในการซื้อ พยากรณ์ได้ถูกต้องร้อยละ 32.30 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | เห็ดหลินจือ | th_TH |
dc.subject | ผู้บริโภค--การตัดสินใจ | th_TH |
dc.subject | การตลาด --การตัดสินใจ | th_TH |
dc.subject | ผู้บริโภค--ไทย--ชลบุรี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อชาสมุนไพรเห็ดหลินจืออบแห้งของผู้บริโภคในเขตอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Marketing mix factors affecting buying behaviors of Ganoderma Lucidum Tea of customers at Banglamung District in Chonburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to study (1) personal factor of customers who bought Ganoderma Lucidum Tea, (2) buying behaviors of Ganoderma Lucidum Tea, (3) important level of marketing mix to buying Ganoderma Lucidum Tea, and (4) marketing mix influencing buying behaviors of Ganoderma Lucidum Tea of customers in Banglamung district, Chonburi province. The population of this survey research was people aged more than 20 years old in Banglamung district, Chonburi province who used to buy Ganoderma Lucidum Tea. With unknown population, the sample of 400 customers was selected by using Cochran formula and selected by convenience sampling. The questionnaire was used as an instrument to collect the data. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Multinomial Logistic Regression. The results of the study revealed that (1) most of samples are male, age 41 – 60 years old, graduation level lower than bachelor degree, work at private company/employees and monthly income of 20,0 0 1 - 3 0 ,000 baht; (2) buying behaviors of Ganoderma Lucidum Tea revealed that most of samples bought for souvenirs. The reason to buy was for treatment of disease, mostly buy a flower type, buy at convenience stores, buying are exhausted, buying one pack per month, costs less than 400 baht, and informed to buy from the experts; (3) an important level of the sample concerned with marketing mix to buying Ganoderma Lucidum Tea was at the highest level; and (4) behaviors of Ganoderma Lucidum Tea of customers in Banglamung district, Chonburi province was place predicted at 32.30 percent. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_161049.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License