Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8569
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิรนาท แสนสา | th_TH |
dc.contributor.author | วรรณิศา ปลอดโปร่ง, 2505- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-08T02:28:33Z | - |
dc.date.available | 2023-08-08T02:28:33Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8569 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในตนเองในการเลือกแผนการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผลของกลุ่มทดลอง และ (2) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในตนเองในการเลือกแผนการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สองห้องเรียนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒปทุมวัน ปีการศึกษา 2555 ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่มโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าความสอดคล้องเท่ากับ .93 และ (2) แบบวัดการตระหนักรู้ในตนเองในการเลือกแผนการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าความสอดคล้องเท่ากับ .89 ค่าความเที่ยงเท่ากับ .76 ค่าอำนาจจำแนก เท่ากับ .43 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที การวิจัยพบผลที่สำคัญ คือ (1) ภายหลังการทดลองนักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวมีการตระหนักรู้ในตนเองในการเลือกแผนการเรียนสูงขึ้นกว่าระยะก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ภายหลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวมีการตระหนักรู้ในตนเองในการเลือกแผนการเรียนสูงกว่าของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3) ในระยะติดตามผลนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวมีการตระหนักรู้ในตนเองในการเลือกแผนการเรียนสูงกว่าระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (4) ในระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผลนักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวมีการตระหนักรู้ในตนเองในการเลือกแผนการเรียนไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.321 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การแนะแนวการศึกษา | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเองในการเลือกแผนการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of using a guidance activities package to develop self-awareness in study program selecion of Mathayom Suksa III students at Patumwan Demonstration School, Srinakharinwirot University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research was a quasi-experimental research with two objectives: (1) to compare the levels of self-awareness in study program selection of Mathayom Suksa III students in the experimental group during the pre-experiment, post-experiment, and follow-up periods; and (2) to compare the levels of self-awareness in study program selection of Mathayom Suksa III students in the experimental and control groups during the pre-experiment and post-experiment periods. The research sample consisted of Mathayom Suksa III students in two intact classrooms of Patumwan Demonstration School, Srinakharinwirot University during the 2012 academic year, obtained by cluster sampling using the classroom as the sampling unit. The employed research instruments were (1) a guidance activities package for Mathayom Suksa III students with the IOC of .93; and (2) a scale to assess self-awareness in study program selection for Mathayom Suksa III students with the IOC of .89, reliability coefficient of .76, and discriminating power of .43. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The main research findings were the following: (1) The students’ post-experiment level of self-awareness in study program selection was significantly higher than that of their pre-experiment level at the .01 level. (2) The post-experiment self-awareness level in study program selection of the experimental group students who used the guidance activities package was significantly higher than that of the control group students at the .01 level. (3) During the follow-up period, the self-awareness level in study program selection of the experimental group students was significantly higher than their self-awareness level during the pre-experiment period at the .01 level. (4) The post-experiment period and the follow-up period levels of self-awareness in study program selection of the experimental group students who used the guidance activities package were not significantly different. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิธิพัฒน์ เมฆขจร | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
134563.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License