Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/857
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปธาน สุวรรณมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | กรกช กาวิล, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T08:01:37Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T08:01:37Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/857 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง (2) ศึกษารูปแบบของการมีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ระดับการศึกษา อาชีพ ฐานะทางสังคม การเป็นอาสาสมัครปฏิบัติงาน การเห็นคุณค่าของการเลือกตั้ง การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ การเลือกตั้ง กับรูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้ง (4) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการมี ส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการเลือกตั้ง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ประชากรคือผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์การ บริหารส่วนตำบล 33 แห่ง ของจังหวัดเชียงราย จำนวน 411,170 คน โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากผู้มีสิทธิเลือกตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 418 คน โดยใช้สูตรยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งท้องถิ่น ได้แก่ หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านและเสียงตามสายเป็นช่องทางที่มีความสำคัญอย่างมากที่ช่วยในการสื่อสารและกระจายข่าวสารให้กับชุมชนผ่านเสียงตามสายเกือบทุกหมู่บ้าน ซึ่งเป็นช่องทางการสื่อสารที่ รวดเร็ว สะดวก และเข้าถึงชุมชนได้มากที่สุด (2) รูปแบบการมีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง แยกเป็น ช่วงก่อนการเลือกตั้ง ได้แก่ การตรวจสอบรายชื่อของตนเองและคนในครอบครัวที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ช่วงวันเลือกตั้ง ได้แก่ การตัดสินใจว่าจะเลือกผู้สมัครผู้ใดไว้แล้วก่อนเดินทางไปเลือกตั้ง ช่วงหลังเลือกตั้ง ได้แก่ การทราบผลการนับคะแนนเลือกตั้ง (3) ฐานะทางสังคม (การเป็นอาสาสมัครปฏิบัติงาน) การเห็น คุณค่าของการเลือกตั้ง การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้ง มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการเลือกตั้งท้องถิ่น (4) แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ในการเลือกตั้งท้องถิ่น ได้แก่ ควรพัฒนาการนำเสนอสื่อประชาสัมพันธ์ กกต. ควรประชาสัมพันธ์เพื่อขอความร่วมมือไปยังเจ้าบ้านแจ้งผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่อยู่ที่อื่นให้เดินทางกลับมาลงคะแนนเลือกตั้ง และคณะกรรมการ การเลือกตั้งควรสร้างความรู้ความเข้าใจให้ผู้นำชุมชนและประชาชนผ่านหอกระจายข่าว หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น อาทิ การจัดประชุมสัญจร เพื่อให้ได้มีโอกาสซักถาม และร่วมแสดงความคิดเห็น อันจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวเกี่ยวกับการเลือกตั้ง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.202 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเลือกตั้งท้องถิ่น -- ไทย -- การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.subject | การมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทย | th_TH |
dc.title | รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลและนายกองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเชียงราย | th_TH |
dc.title.alternative | The study of pattern of public participation in the elections of members of Tambon Administration Organization assembly and president of Tambon | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2011.202 | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) the characteristics of the patron-client relationships between politicians and community leaders in Khlong San District; (2) the types of patron-client relationships between those politicians and community leaders; and (3) the impacts of patron-client relationships The sample population, chosen through purposive sampling, consisted of 1 member of Parliament from Khlong San District, 1 member of the Bangkok City Council from Khlong San District, 2 members of the Khlong San District Council, and 10 community leaders from Khlong San District. Data were collected using interview forms, documentary research forms and observation and were analyzed using descriptive analysis. The results showed that (1) The relationships between politicians and community leaders in Khlong San District was characterized by continuous assistance. The givers gave more than they received. Giving was not done as a once-off exchange of benefits but in hopes of long-term gain. (2) The kinds of patronclient relationships were indirect. The member of Parliament contacted the beneficiaries through local politicians or a secretary; the city council member contacted beneficiaries through the district council members or a secretary; and the district council members were intermediaries between the benefactors and the beneficiaries. (3) The relationships had both negative and positive impacts. The negative impacts were that it was a starting point for corruption; it set an example for people in the community to focus on an exchange of benefits with no regard for morals and ethics; assistance given by politicians created disparity in the community; it gave community leaders a role in dictating politics; elections were not transparent and people lost faith in the political process; there was a negative effect on the development of democracy; political benefits were not distributed fairly; politicians did not cooperate with each other to work for the good of the people; and a political monopoly was promoted. The positive impacts were that the relationships gave the community another source of assistance in addition to the government bureaucracy; public works facilities were developed more quickly; the politicians and people in the community learned about each other’s desires; leaders of community development emerged; cooperation was promoted in civil society; citizens became more interested in local politics and learned about political mechanisms; local politicians were built up; and a local political network was created | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ฐปนรรต พรหมอินทร์ | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib129210.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License